⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ในปี 2512 ทร.ไทยได้สั่งต่อเรือจากสหรัฐอเมริกาจำนวน 1 ลำ หมายเลขกำกับลำของสหรัฐฯคือ PF-107(ร.ล.ตาปี) ซึ่งเป็นแบบเดียวกับที่ต่อให้อิหร่านไปแล้วจำนวน 4 ลำในชุด Bayandor class หมายเลขคือ PF-103, PF-104, PF-105, PF-106 ต่อมาในปี 2514 ทร.ไทยก็ได้สั่งต่อเพิ่มอีก 1 ลำ PF-108(ร.ล.คีรีรัฐ)


ณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 431
    • วางกระดูกงู 1 ก.ค. 2513
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 17 ต.ค. 2513
    • ขึ้นระวางประจำการ 19 พ.ย. 2514
    • ปลดประจำการ 30 ก.ย. 2565
    • ผู้สร้าง American Shipbuilding สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 82.5 เมตร
    • ความกว้าง 9.9 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.2 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 20 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 885 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,172 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 4,203 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 150 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Raytheon AN/SPS-53E
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales LW04
    • เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno
    • โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-21C
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
  • ระบบอาวุธ
    • ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH)
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 107 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง
    • รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก
    • แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 2 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
    • ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 309
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 34 RBOC
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 16V-149TI 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Detroit Diesel 12V-71 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT-211
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navy.mi.th/frigate1/
  • https://www.wikipedia.org
  • http://www.thaiarmedforce.com