⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

นอกชายฝั่ง Chicago, IL., ฤดูหนาวในปี พ.ศ. 2448

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงไผ่ เป็นเรือยกพลขึ้นบกขนาดกลาง (LSM : landing Ship, Medium) ชั้น LSM-1 เดิมชื่อ USS LSM-338 ของประเทศสหรัฐอเมริกา เคยได้ปฏิบัติภารกิจ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ในพื้นที่แปซิฟิก หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้นำไปใช้ในภาคพื้นตะวันออกไกล ช่วง 20 ก.ย. 2488 – 20 ก.ค. 2489 จากนั้นได้ขายและส่งมอบต่อให้ ทร.ไทย เมื่อ 14 ต.ค. 2489 เรือหลวงไผ่ ได้ถูกนำมาใช้เป็นเรืออะไหล่สำหรับเรือหลวงกูด ในช่วงสุดท้ายได้ถูกแยกชิ้นส่วนและนำไปติดตั้งไว้ที่ กองการฝึก กองเรือยุทธการ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 2
    • วางกระดูกงู 14 ส.ค. 2487
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 5 ต.ค. 2487
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.สหรัฐฯ 10 ม.ค. 2488
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย 14 ต.ค. 2489
    • ปลดประจำการ ไม่ทราบแน่ชัด
    • ผู้สร้าง บริษัท Pullman Standard Car Manufacturing Company, Chicago ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 61.50 เมตร
    • ความกว้าง 10.51 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.27 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 13.5 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 513 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 912 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,580 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 65 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนหลัก 40 มม. แท่นคู่ 1 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. 4 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล Fairbanks Morse (model 38D81/8X10, reversible with hydraulic clutch) 1,800 แรงม้า จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องขับเครื่องยนต์ดีเซล 100Kw จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องขับเครื่องยนต์ดีเซล 20Kw จำนวน 1 เครื่อง
    • ใบจักร 2 เพลา

แหล่งอ้างอิง

http://www.navsource.org