Category: Uncategorized

เรือหลวงหนองสาหร่าย(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

พ.ศ. 2530 กองทัพเรือได้จัดหา เรือล่าทำลายทุ่นระเบิดใกล้ฝั่ง จำนวน 2 ลำ สร้างโดยประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมันนี คือ เรือหลวงบางระจัน (ลำที่ 2) และเรือหลวงหนองสาหร่าย (ลำที่ 2) ซึ่งเรือทั้ง 2ลำนี้ นับว่าเป็นเรือที่ทันสมัยที่สุด และอยู่ในอันดับแนวหน้าของโลกในยุคนั้น เนื่องจากเป็นเรือที่ใช้เทคโนโลยี ในการสร้างสูง ทั้งในด้านการสร้างตัวเรือ และการติดตั้งอุปกรณ์ ที่ทันสมัย ตลอดจนมีอำนาจแม่เหล็กต่ำ มีเสียงเบา มีความทนทานต่อแรงกระแทกสูง รวมทั้งมีอุปกรณ์ในการค้นหาและล่าทำลายทุ่นระเบิดที่มีประสิทธิภาพ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 632
    • ขึ้นระวางประจำการ 17 พ.ย. 2530
    • ผู้สร้าง บริษัท Friedrich Lurssen Werft ประเทศเยอรมนี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 48.20 เมตร
    • ความกว้าง 9.60 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.50 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 12 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 16 นอต
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 448 ตัน เต็มที่ 537 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,100 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 48 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1229
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Atlas Elektronik DSQS-11H
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 3 แท่น
    • รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง
    • ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik MWS-80R
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 396 TB83 จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU (Benz) OM424 กำลังไฟฟ้า 155 กิโลวัตต์จำนวน 4 เครื่อง
    • มอเตอร์ไฟฟ้าขับเพลาใบจักร
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Sulzer Escher Wyss/MTU แบบปรับมุมได้
    • หางเสือ Becker Marine Systems แบบ flap rudder
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ (degaussing)
    • ระบบยานล่าทำลายทุ่นระเบิด GayMarine Pluto 1 ระบบ
    • เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Atlas Elektronik SDG 31 double Oropesa พร้อมเครนรับส่งเครื่องกวาด
    • ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 7 นาย
    • รองรับการติดตั้งตู้ปรับบรรยากาศความกดดันสูง (HBC) แบบเคลื่อนย้ายได้ Drager สำหรับประดาน้ำ 1 นาย
    • เรือยางทางยุทธวิธี พร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://www.rtnodd.com

เรือหลวงบางระจัน(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

พ.ศ. 2530 กองทัพเรือได้จัดหา เรือล่าทำลายทุ่นระเบิดใกล้ฝั่ง จำนวน 2 ลำ สร้างโดยประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมันนี คือ เรือหลวงบางระจัน (ลำที่ 2) และเรือหลวงหนองสาหร่าย (ลำที่ 2) ซึ่งเรือทั้ง 2ลำนี้ นับว่าเป็นเรือที่ทันสมัยที่สุด และอยู่ในอันดับแนวหน้าของโลกในยุคนั้น เนื่องจากเป็นเรือที่ใช้เทคโนโลยี ในการสร้างสูง ทั้งในด้านการสร้างตัวเรือ และการติดตั้งอุปกรณ์ ที่ทันสมัย ตลอดจนมีอำนาจแม่เหล็กต่ำ มีเสียงเบา มีความทนทานต่อแรงกระแทกสูง รวมทั้งมีอุปกรณ์ในการค้นหาและล่าทำลายทุ่นระเบิดที่มีประสิทธิภาพ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 631
    • ขึ้นระวางประจำการ 29 เม.ย. 2530
    • ผู้สร้าง บริษัท Friedrich Lurssen Werft ประเทศเยอรมนี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 48.20 เมตร
    • ความกว้าง 9.60 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.50 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 12 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 16 นอต
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 448 ตัน เต็มที่ 537 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,100 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 48 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1229
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Atlas Elektronik DSQS-11H
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 3 แท่น
    • รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง
    • ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik MWS-80R
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 396 TB83 จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU (Benz) OM424 กำลังไฟฟ้า 155 กิโลวัตต์จำนวน 4 เครื่อง
    • มอเตอร์ไฟฟ้าขับเพลาใบจักร
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Sulzer Escher Wyss/MTU แบบปรับมุมได้
    • หางเสือ Becker Marine Systems แบบ flap rudder
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ (degaussing)
    • ระบบยานล่าทำลายทุ่นระเบิด GayMarine Pluto 1 ระบบ
    • เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Atlas Elektronik SDG 31 double Oropesa พร้อมเครนรับส่งเครื่องกวาด
    • ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 7 นาย
    • รองรับการติดตั้งตู้ปรับบรรยากาศความกดดันสูง (HBC) แบบเคลื่อนย้ายได้ Drager สำหรับประดาน้ำ 1 นาย
    • เรือยางทางยุทธวิธี พร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://www.rtnodd.com

เรือ ต.269

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 – ต.269 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 269
    • วางกระดูกงู 25 เม.ย. 2559
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 15 ก.พ. 2561
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 พ.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/LLP.Exclusive/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.268

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 – ต.269 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 268
    • วางกระดูกงู 25 เม.ย. 2559
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 15 ก.พ. 2561
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 พ.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/LLP.Exclusive/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.267

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 – ต.269 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 267
    • วางกระดูกงู 25 เม.ย. 2559
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 15 ก.พ. 2561
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 พ.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/LLP.Exclusive/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.266

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 – ต.269 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 266
    • วางกระดูกงู 25 เม.ย. 2559
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 15 ก.พ. 2561
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 พ.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/LLP.Exclusive/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.265

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 – ต.269 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 265
    • วางกระดูกงู 25 เม.ย. 2559
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 15 ก.พ. 2561
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 พ.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/LLP.Exclusive/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.264

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 264
    • วางกระดูกงู 7 ก.ย. 2558
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 10 มี.ค. 2560
    • ขึ้นระวางประจำการ 6 ก.ย. 2560
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.263

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 263
    • วางกระดูกงู 7 ก.ย. 2558
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 10 มี.ค. 2560
    • ขึ้นระวางประจำการ 6 ก.ย. 2560
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.262

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 262
    • วางกระดูกงู 7 ก.ย. 2558
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 10 มี.ค. 2560
    • ขึ้นระวางประจำการ 6 ก.ย. 2560
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • https://www.thairath.co.th/

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑