Category: Uncategorized

เรือหลวงล่องลม(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำชุดเรือหลวงคำรณสินธุ ประกอบด้วย เรือหลวงคำรณสินธุ (531) ,เรือหลวงทยานชล (532) และ เรือหลวงล่องลม (533) โดยเรือทั้งสามลำ ได้รับการต่อในประเทศไทย ตามแบบเรือ Vosper Thornycroft ASW Corvette สหราชอาณาจักร


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 533
    • วางกระดูกงู 15 มี.ค. 2531
    • ขึ้นระวางประจำการ 2 ต.ค. 2536
    • ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 62 เมตร
    • ความกว้าง 8.22 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.5 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 475 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,850 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 58 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ AWS-4 ของ BAE
    • เรดาร์เดินเรือ Bridgemaster E ของ Sperry Marine
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • โซนาร์ DSQS-21 ของ Atlas
    • ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Ultra Electronics ATLAPS
    • ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador
    • ระบบอำนวยการรบ TACTICOS
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) Bendix AN/APX-72
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 76/62 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืน 30 มม. แท่นคู่ 1 กระบอก
    • ปืน .50 นิ้ว 4 กระบอก
    • ท่อตอร์ปิโด 2 แท่น (6 ท่อยิง)
    • แท่นยิงระเบิดลึก 2 แท่น
    • รางปล่อยระเบิดลึก 1 ราง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 1163 TB93 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://sites.google.com/site/vichayasan1812/

เรือหลวงทยานชล (ลำที่ 3)

⇑ กำลังทางเรือ

เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำชุดเรือหลวงคำรณสินธุ ประกอบด้วย เรือหลวงคำรณสินธุ (531) ,เรือหลวงทยานชล (532) และ เรือหลวงล่องลม (533) โดยเรือทั้งสามลำ ได้รับการต่อในประเทศไทย ตามแบบเรือ Vosper Thornycroft ASW Corvette สหราชอาณาจักร


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 532
    • วางกระดูกงู 26 มี.ค. 2531
    • ขึ้นระวางประจำการ 5 ก.ย. 2535
    • ผู้สร้าง บริษัทอิตัลไทยมารีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 62 เมตร
    • ความกว้าง 8.22 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.5 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 475 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,850 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 58 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ AWS-4 ของ BAE
    • เรดาร์เดินเรือ Bridgemaster E ของ Sperry Marine
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • โซนาร์ DSQS-21 ของ Atlas
    • ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Ultra Electronics ATLAPS
    • ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador
    • ระบบอำนวยการรบ TACTICOS
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) Bendix AN/APX-72
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 76/62 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืน 30 มม. แท่นคู่ 1 กระบอก
    • ปืน .50 นิ้ว 4 กระบอก
    • ท่อตอร์ปิโด 2 แท่น (6 ท่อยิง)
    • แท่นยิงระเบิดลึก 2 แท่น
    • รางปล่อยระเบิดลึก 1 ราง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 1163 TB93 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://sites.google.com/site/vichayasan1812/

เรือหลวงคำรณสินธุ (ลำที่ 3)

⇑ กำลังทางเรือ

เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำชุดเรือหลวงคำรณสินธุ ประกอบด้วย เรือหลวงคำรณสินธุ (531) ,เรือหลวงทยานชล (532) และ เรือหลวงล่องลม (533) โดยเรือทั้งสามลำ ได้รับการต่อในประเทศไทย ตามแบบเรือ Vosper Thornycroft ASW Corvette สหราชอาณาจักร


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 531
    • วางกระดูกงู 26 มี.ค. 2531
    • ขึ้นระวางประจำการ 29 ก.ค. 2535
    • ผู้สร้าง บริษัทอิตัลไทยมารีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 62 เมตร
    • ความกว้าง 8.22 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.5 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 475 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,850 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 58 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ AWS-4 ของ BAE
    • เรดาร์เดินเรือ Bridgemaster E ของ Sperry Marine
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • โซนาร์ DSQS-21 ของ Atlas
    • ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Ultra Electronics ATLAPS
    • ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador
    • ระบบอำนวยการรบ TACTICOS
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) Bendix AN/APX-72
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 76/62 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืน 30 มม. แท่นคู่ 1 กระบอก
    • ปืน .50 นิ้ว 4 กระบอก
    • ท่อตอร์ปิโด 2 แท่น (6 ท่อยิง)
    • แท่นยิงระเบิดลึก 2 แท่น
    • รางปล่อยระเบิดลึก 1 ราง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 1163 TB93 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://sites.google.com/site/vichayasan1812/

เรือหลวงสุโขทัย(ลำที่ 2)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมา

เรือหลวงสุโขทัย (FS-442) ( HTMS Sukhothai) เป็นเรือคอร์เวตชั้นรัตนโกสินทร์ โดยเป็นเรือลำที่ 2 ที่ใช้ชื่อเรือหลวงสุโขทัย เกิดเหตุการณ์เรืออับปางหลังจากเกิดพายุในอ่าวไทย บริเวณอำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ห่างจากฝั่งไปประมาณ 19 ไมล์ทะเล เมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2565 ขณะเรือกำลังเดินทางไปร่วมงานฉลองครบรอบ 100 ปี กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ศาลหาดทรายรี จังหวัดชุมพร ในช่วงที่เกิดเหตุ คลื่นลมบริเวณอ่าวไทยและอันดามันมีกำลังแรง โดยมีคลื่นสูง 2–4 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองมีคลื่นสูงมากกว่า 4 เมตร เรือได้รับความพยายามช่วยเหลืออย่างหนักหลังจากระบบไฟฟ้าและเครื่องสูบน้ำล้มเหลวเนื่องจากน้ำท่วม เหตุเรือสุโขทัยล่มนับเป็นเรือรบในราชนาวีไทยลำแรกที่อับปางลงนับตั้งแต่เรือหลวงศรีอยุธยาถูกทิ้งระเบิดและจมลง เมื่อ พ.ศ. 2494

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 442
    • วางกระดูกงู 26 มี.ค. 2527
    • ขึ้นระวางประจำการ 19 ก.พ. 2530
    • อับปางเมื่อ 18 ธ.ค. 2565
    • ผู้สร้าง Tacoma Boat Building Co, สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 76.8 เมตร
    • ความกว้าง 9.6 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.5 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 24 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 840 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 960 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,568 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 87 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Decca 1226
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ ZW-06
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ DA-05
    • โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ STN Atlas DSQS-21C
    • เรดาร์ควบคุมการยิง WM-25
    • LIROD-8 optical
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 76/62 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืน 40L70 มม. แท่นคู่ 1 กระบอก
    • ปืน 20 มม. 2 กระบอก
    • ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี พื้น-สู่-พื้น แบบ ฮาร์พูน 2 แท่น (8 ท่อยิง)
    • ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี พื้น-สู่-อากาศ แบบ อัลบราทรอส 1 แท่น (8 ท่อยิง)
    • ท่อตอร์ปิโด 2 แท่น(6 ท่อยิง)
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V1163 TB83 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navy.mi.th/frigate1/
  • https://www.wikipedia.org

เรือหลวงรัตนโกสินทร์(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 441
    • วางกระดูกงู 6 ก.พ. 2527
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 11 พ.ค. 2528
    • ขึ้นระวางประจำการ 26 ก.ย. 2529
    • ผู้สร้าง Tacoma Boat Building Co, สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 76.8 เมตร
    • ความกว้าง 9.6 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.5 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 24 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 840 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 960 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,568 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 87 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Decca 1226
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ ZW-06
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ DA-05
    • โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ STN Atlas DSQS-21C
    • เรดาร์ควบคุมการยิง WM-25
    • LIROD-8 optical
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 76/62 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืน 40L70 มม. แท่นคู่ 1 กระบอก
    • ปืน 20 มม. 2 กระบอก
    • ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี พื้น-สู่-พื้น แบบ ฮาร์พูน 2 แท่น (8 ท่อยิง)
    • ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี พื้น-สู่-อากาศ แบบ อัลบราทรอส 1 แท่น (8 ท่อยิง)
    • ท่อตอร์ปิโด 2 แท่น(6 ท่อยิง)
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V1163 TB83 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navy.mi.th/frigate1/
  • https://www.wikipedia.org

เรือหลวงคีรีรัฐ

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ในปี 2512 ทร.ไทยได้สั่งต่อเรือจากสหรัฐอเมริกาจำนวน 1 ลำ หมายเลขกำกับลำของสหรัฐฯคือ PF-107(ร.ล.ตาปี) ซึ่งเป็นแบบเดียวกับที่ต่อให้อิหร่านไปแล้วจำนวน 4 ลำในชุด Bayandor class หมายเลขคือ PF-103, PF-104, PF-105, PF-106 ต่อมาในปี 2514 ทร.ไทยก็ได้สั่งต่อเพิ่มอีก 1 ลำ PF-108(ร.ล.คีรีรัฐ)


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 432
    • วางกระดูกงู 18 ก.พ. 2515
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 2 มิ.ย. 2516
    • ขึ้นระวางประจำการ 10 ส.ค. 2517
    • ผู้สร้าง Norfolk Shipbuilding สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 82.5 เมตร
    • ความกว้าง 9.9 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.2 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 20 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 885 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,172 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 4,203 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 150 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Raytheon AN/SPS-53E
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales LW04
    • เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno
    • โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-21C
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
  • ระบบอาวุธ
    • ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH)
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 107 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง
    • รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก
    • แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 2 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
    • ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 309
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 34 RBOC
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 16V-149TI 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Detroit Diesel 12V-71 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT-211
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navy.mi.th/frigate1/
  • https://www.wikipedia.org
  • http://www.thaiarmedforce.com

เรือหลวงตาปี

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ในปี 2512 ทร.ไทยได้สั่งต่อเรือจากสหรัฐอเมริกาจำนวน 1 ลำ หมายเลขกำกับลำของสหรัฐฯคือ PF-107(ร.ล.ตาปี) ซึ่งเป็นแบบเดียวกับที่ต่อให้อิหร่านไปแล้วจำนวน 4 ลำในชุด Bayandor class หมายเลขคือ PF-103, PF-104, PF-105, PF-106 ต่อมาในปี 2514 ทร.ไทยก็ได้สั่งต่อเพิ่มอีก 1 ลำ PF-108(ร.ล.คีรีรัฐ)


ณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 431
    • วางกระดูกงู 1 ก.ค. 2513
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 17 ต.ค. 2513
    • ขึ้นระวางประจำการ 19 พ.ย. 2514
    • ปลดประจำการ 30 ก.ย. 2565
    • ผู้สร้าง American Shipbuilding สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 82.5 เมตร
    • ความกว้าง 9.9 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.2 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 20 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 885 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,172 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 4,203 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 150 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Raytheon AN/SPS-53E
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales LW04
    • เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno
    • โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-21C
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
  • ระบบอาวุธ
    • ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH)
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 107 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง
    • รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก
    • แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 2 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
    • ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 309
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 34 RBOC
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 16V-149TI 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Detroit Diesel 12V-71 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT-211
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navy.mi.th/frigate1/
  • https://www.wikipedia.org
  • http://www.thaiarmedforce.com

เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช เป็นเรือชั้นฟริเกต ต่อขึ้นที่ประเทศเกาหลีใต้ โดยพัฒนาขึ้นจากเรือพิฆาตชั้น ควังแกโทมหาราช (Gwanggaeto the Great-class destroyer) เรือลำนี้ถือเป็นเรือลำแรกในโครงการเรือฟริเกตสมรรถนะสูงของกองทัพเรือไทย สามารถปฏิบัติการรบ 3 มิติ ทั้งผิวน้ำ ใต้น้ำ และทางอากาศ มีชื่อเดิมคือ เรือหลวงท่าจีน(ลำที่ 3) ต่อมาได้รับพระราชทานชื่อใหม่โดย รัชกาลที่ 10 มีชื่อว่า เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช ตามพระราชนามของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เรือ DW3000F หรือ เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช (HTMS Bhumibol Adulyadej) เป็นโครงการจัดหาเรือฟริเกตสมรรถนะสูงของกองทัพเรือจำนวน 2 ลำ โครงการเริ่มขึ้นในปี 2555 และลงนามจัดซื้อในปี 2556 จากบริษัท Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering Co., Ltd. (DSME) จากประเทศเกาหลีใต้ 1 ลำ โดยมีค่าจ้างสร้างเรือรวมทั้งสิ้นประมาณ 14,997 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม อะไหล่เครื่องมือ เอกสาร ส่วนสนับสนุน การทดสอบทดลอง การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นงบประมาณผูกพันระยะเวลา 6 ปี

การดำเนินการสร้าง

เรือถูกพัฒนาปรับปรุงมาจากเรือพิฆาตชั้น Gwanggaeto the Great-class destroyer (KDX-I) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้ โดยการสร้างเรือดำเนินการ ณ อู่ต่อเรือของบริษัท DSME สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ในระหว่างปี 2556 – 2561 ตัวเรือออกแบบโดยใช้ Stealth Technology ทั้งตัวเรือและระบบต่างๆ เน้นลดการถูกตรวจจับโดยฝ่ายตรงข้าม ทั้งลดการแผ่รังสีความร้อน ลดการสะท้อนของเรดาร์และลดเสียง มีการเชื่อมโยงระบบการรบของเรือรบกองทัพเรือกับเครื่องบินของกองทัพอากาศ ทั้ง Link E, Link RTN โดยเฉพาะการเชื่อมโยงกับเรือหลวงฟริเกตชุดตากสิน-นเรศวร และเรือหลวงจักรีนฤเบศร กับ Link G, เครื่องบิน Gripen เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบ Network Centric Warfare เรือฟริเกตสมรรถนะสูง ได้รับการออกแบบตัวเรือและโครงสร้าง รองรับการปรับปรุงให้สามารถยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ แบบ SM2 รวมทั้งได้มีแผนเตรียมการรองรับไว้แล้ว โดยบริษัทผู้ผลิตระบบประกอบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แท่นยิงแท่นยิงอาวุธปล่อยฯ แนวตั้ง (VLS) ระบบอำนวยการรบ เรดาร์ควบคุมการยิงและ เรดาร์ชี้เป้า (Illuminator) สามารถปรับปรุงรองรับการยิงอาวุธปล่อยฯ ดังกล่าวได้ เมื่อกองทัพเรือต้องการและสถานการณ์ด้านงบประมาณเอื้ออำนวย เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช ได้ทำพิธีรับมอบเรือ ณ อู่ต่อเรือ Okpo-Dong ของบริษัท Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering(DSME) ใน Geoje, South Gyeongsang, Busan สาธารณรัฐเกาหลี เมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2561

ภารกิจของหน่วย

  • ภารกิจในยามสงคราม ป้องกันอธิปไตยเหนืออาณาเขตทางทะเลของไทย คุ้มกันกระบวนเรือลำเลียง
  • ภารกิจในยามสงบ รักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของเส้นทางคมนาคมทางทะเล พิทักษ์รักษาสิทธิอธิปไตยทางทะเล ค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ และรักษากฎหมายตามกฎหมายให้อำนาจทหารเรือ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 471
    • วางกระดูกงู 15 พ.ค. 2559
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 23 ม.ค. 2560
    • ขึ้นระวางประจำการ 7 ม.ค. 2562
    • ผู้สร้าง Daewoo Shipbuilding and Marine Engineering (DSME),นครปูซาน ประเทศเกาหลีใต้
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 124.10 เมตร
    • ความกว้าง 14.40 เมตร
    • กินน้ำลึก 8 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 33.3 นอต
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 3,700 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 4,000 ไมล์ ที่ 18 นอต
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 6
    • กำลังพลประจำเรือ 141 นาย
    • ลาน ฮ. รับน้ำหนักได้ 10 ตัน สำหรับ S-70B หรือ MH-60S Knight hawk
    • มีโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์สำหรับ ฮ. 1 เครื่อง พร้อมระบบชักลาก
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์ 3 มิติ ระยะไกลแบบ Saab SEA GIRAFFE ER(SEA GIRAFFE 4A)
    • เรดาร์ตรวจการณ์ 3 มิติ ระยะปานกลางแบบ Saab SEA GIRAFFE AMB
    • เรดาร์เดินเรือ X band
    • เรดาร์เดินเรือ s band แบบ IP radar
    • ระบบ Warship Electronic Chart and Display System (WECDIS)
    • กล้องตรวจการณ์ (TV and thermal imager)
    • โซนาร์ DSQS-24 Atlas Hull Mounted
    • โซนาร์ ACTAS Atlas ELEKTRONIK Towed Array
    • 2 x IFF
    • Automatic Dependent Surveillance-Broadcast (ADS-B)
  • ระบบอำนวยการรบ
    • 15 x Multi-Function Consoles แบบ Saab 9LV Mk4
    • 2 x เรดาร์ควบคุมการยิงแบบ Saab CEROS 200
    • 2 x Continuous Wave Illuminators
    • Saab EOS 500 Electro Optical Fire Control
    • 2 x Target Designation Sight: Bridge Pointer
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนหลัก OTO Melara 76/62 มม. Super rapid จำนวน 1 กระบอก
    • 8 x Advance Harpoon Weapon Control System: RGM/AGM-84L (Block 2)
    • 8 x Mk.41 VLS สำหรับ 32 x อาวุธปล่อยนำวิถี RIM-162 ESSM Block II หรือ จรวดต่อต้านเรือดำน้ำ RUM-139C VL ASROC ท่อยิงละ 1 นัด รวม 8 นัด หรือ เป้าลวงอาวุธปล่อยนำวิถี Mk.234 Nulka ท่อยิงละ 4 นัด หรือผสมกัน (ในอนาคตสามารถติดตั้ง Mk.41 VLS เพิ่มเติมได้อีก 8 cell และ สามารถติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถี SM-2MR ได้)
    • ระบบป้องกันระยะประชิด (CIWS) แบบ Raytheon Mk 15 Phalanx block 1B ขนาด 20 มม./99 คาลิเบอร์ 6 ลำกล้องหมุน
    • ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว จำนวน 2 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิง J+S DMTLS สำหรับตอร์ปิโดปราบเรือดำน้ำแบบ Mark 54 แท่นละ 3 ท่อยิง จำนวน 2 แท่น
  • ระบบสงครามอิเลคทรอนิกส์
    • เรดาร์ ESM
    • Communication ESM (CESM)
    • แท่นปล่อยเป้าลวง 6 แท่น
    • Active-off board ECM
    • ระบบเป้าลวงต่อต้านอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านเรือ และระบบเป้าลวงตอร์ปิโดแบบ CANTO-V
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • ระบบขับเคลื่อนแบบ Combine Diesel and Gas turbine (CODAG)
    • เครื่องจักรใหญ่ 2 x MTU 16V1163 M94 ขนาด 8,000 แรงม้า
    • เครื่องยนต์กังหันก๊าซ General Electric LM2500 ขนาด 29,000 แรงม้า
    • ใบจักร แบบ Ship Service Power Generation(each 830 Kw) 4 พวง

แหล่งอ้างอิง

  • http://wikipedia.org
  • https://www.facebook.com/RoyalThaiNavyFanpage

เรือหลวงมกุฎราชกุมาร (ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือได้รับอนุมัติงบประมาณพัฒนากำลังรบทางเรือให้มีสมรรถนะสูงขึ้นตามแผนป้องกันประเทศ โดยการจัดหาเรือรบประเภทพิฆาตคุ้มกัน หรือเรือฟริเกต ซึ่งเหมาะสมกับภารกิจของกองทัพเรือ กองทัพเรือได้ลงนามสัญญาสร้างเรือกับบริษัท ยาร์โรว์ จำกัด เมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2512 โดยมี พล.ร.อ.จรูญ เฉลิมเตียรณ ผบ.ทร.ในขณะนั้น เป็นผู้ลงนามฝ่าย ทร.ไทย

การตั้งชื่อเรือ

แต่เดิมกองทัพเรือตั้งใจจะใช้ชื่อว่า ร.ล.เจ้าพระยาแต่ในระหว่างที่เรือยังสร้างไม่เสร็จ ได้มีพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ฯ ขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ 28 ธ.ค.2515 กองทัพเรือจึงได้เปลี่ยนชื่อเรือเป็นเรือหลวงมกุฎราชกุมาร เพื่อเป็นการถวายเทิดพระเกียรติ นับได้ว่าเป็นเรือลำที่ สอง ที่ได้รับชื่อนี้ การสร้างเรือได้กระทำตามเทคนิคสมัยใหม่ ไม่มีการวางกระดูกงู โดยในวันที่ 18 พ.ย.2514 ได้ทำพิธีปล่อยเรือลงน้ำ มี คุณหญิง ดุษฎีศุภมงคล ภริยาเอกอัคราชฑูตไทยประจำสหราชอาณาจักรเป็นผู้กระทำพิธี ร.ล.มกุฎราชกุมารได้ขึ้นระวางประจำการในวันจันทร์ที่ 7 พ.ค.2516 โดยมี พล.ร.อ.จิตต์ สังขดุลย์ เสนาธิการทหารเรือในขณะนั้นเป็นผู้ลงนามรับมอบ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 433
    • ไม่มีการวางกระดูกงู
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 18 พ.ย.2514
    • ขึ้นระวางประจำการ 7 พ.ค. 2516
    • ผู้สร้าง บริษัท Yarrow Shipbuilers Limited สหราชอาณ่าจักร
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 97.56 เมตร
    • ความกว้าง 10.97 เมตร
    • กินน้ำลึก หัว 4.50 เมตร ท้าย 2.8 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,948 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 2,072 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 5,940 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 150 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales DA05
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod.61
    • ศูนย์เล็งกำหนดเป้าหมาย Thales TDS
    • เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno
    • โซนาร์ Atlas Elektronik DSQS-21C
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนหลัก 4.5 นิ้ว จำนวน 2 กระบอก
    • ปืนกล 40/70 มม.แท่นคู่ จำนวน 2 กระบอก
    • ปืนกล .50 นิ้ว จำนวน 4 กระบอก
    • แท่นยิงจรวดส่องสว่าง จำนวน 2 แท่น
    • แท่นยิง CHAFF MK 135 จำนวน 2 แท่น
    • ท่อยิงตอร์ปิโด PMW-49A จำนวน 2 แท่น
    • อาวุธปราบเรือดำน้ำ MORTAR จำนวน 1 แท่น
    • รางปล่อยระเบิดลึก จำนวน 1 ราง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ระบบ CODAG
    • เครื่องยนต์ดีเซล Man Diesel 12PC2V 1 เครื่อง
    • เครื่องยนต์ก๊าซเทอร์ไบน์ Twin Spool Axial Flow 1 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบรวมการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ Elettronica Newton
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT-211
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Elettronica ELT-318
    • ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH)
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk.33 RBOC
    • ระบบถามสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk.X (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ DA05) BAE AN/TPX-54
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Thales Link-Y

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.frigate1.com/
  • http://chaoprayanews.com

เรือหลวงตากสิน

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงตากสิน จัดเป็นเรือประเภทเรือฟริเกต (FRIGATE) ที่สร้างเป็นแบบเดียวกับเรือหลวงนเรศวร ซึ่งกองทัพเรือได้สั่งต่อจาก ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นเรือฟริเกตลำที่ 6 และเป็นลำส่าสุดที่ต่อจากประเทศนี้ เป็นเรือที่กองทัพเรือออกแบบใหม่ร่วมกับบริษัท CHINA STATE SHIPBUILDING COORPERATION (CSSC) โดยใช้ระบบอาวุธ และเครื่องจักรส่วนใหญ่ของยุโรปและสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก จึงทำให้มีขีดความสามารถ และประสิทธิภาพในการรบที่ทันสมัย มีระยะปฏิบัติการไกล เรือหลวงตากสินต่อที่ อู่จงหัว เมืองเซียงไฮ้ วางกระดูกงูเมื่อปี พ.ศ. 2534 ทำพิธีปล่อยลงน้ำเดือน พ.ค.2537 ขึ้นระวางประจำการ เมื่อ 28 ก.ย. 2538 เรือหลวงตากสิน ได้รับการติดตั้งระบบอาวุธบางส่วนที่ทำโดยสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นระบบอาวุธที่ได้รับการพัฒนาให้มีความทันสมัยมากขึ้นกว่า ที่กองทัพเรือได้เคยมีไว้ใช้งาน เช่น ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์ แบบ MIRAGE ระบบโซนาร์ติดตั้งหัวเรือแบบ SJD-7 , ระบบปืน 37 มม. รุ่นใหม่ และเรดาร์ตรวจการณ์อากาศพื้นน้ำ แบบ 360 และที่พิเศษกว่านั้นคือ มีความสามารถในการป้องกันภัยจากสงครามนิวเคลียร์ ชีวะเคมี ทั้งยังได้รับการติดตั้งระบบอาวุธยุทโธปกรณ์รุ่นใหม่ของประเทศแถบยุโรป และสหรัฐอเมริกา อาทิเช่น เรดาร์ตรวจการณ์อากาศระยะไกล แบบ LW O8 , ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี HARPOON , ระบบควบคุมการยิง แบบ STIR , ปืน 5 นิ้ว มาร์ค 45 , ตอร์ปิโดปราบเรือดำน้ำ มาร์ค 46 และระบบสนับสนุนการปฏิบัติการเฮลิคอปเตอร์ รวมทั้งใช้เครื่องยนต์ MTU แบบ 1163 และเครื่องยนต์แก๊สเทอร์ไบน์ แบบ LM-2500 เป็นระบบขับเคลื่อนซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในบรรดาเรือฟริเกต ต่าง ๆ ที่กองทัพเรือมีใช้อยู่ปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเป็นเรือที่ได้รับการออกแบบตัวเรือได้สวยงามที่สุดตามหลักเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ช่วยลดการสะท้อนคลื่น

โครงการปรับปรุงเรือฟริเกตชุดเรือหลวงนเรศวร

ในปีงบประมาณ2553 กองทัพเรือได้ขออนุมัติกระทรวงกลาโหมดำเนินโครงการปรับปรุงเรือฟริเกตชุด เรือหลวงนเรศวร ซึ่งใช้งานมากว่า 15 ปี ให้มีความทันสมัยและมีความสามารถ ที่จะทำการรบร่วมกับกองทัพอากาศได้อย่างสมบูรณ์ และได้รับอนุมัติให้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2554 เป็นต้นไป แต่เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงบประมาณ จึงต้องแบ่งการดำเนินการเป็น 3 ระยะ คือ

  • โครงการระยะที่ 1 (ปีงบประมาณ 2554 – 2557) ลงนามในสัญญาซื้อขาย เมื่อ 3 มิถุนายน 2557
  • โครงการระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ 2555 – 2556)
  • โครงการระยะที่ 3 (ปีงบประมาณ 2556 – 2558)


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 422
    • วางกระดูกงู 2534
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 2536
    • ขึ้นระวางประจำการ 28 ก.ย. 2538
    • ผู้สร้าง อู่จงหัว เมืองเซียงไฮ้ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 120.50 เมตร
    • ความกว้าง 13.70 เมตร
    • กินน้ำลึก 6 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 32 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 2,985 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 4,000 ไมล์ ที่ 18 นอต
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 6
    • กำลังพลประจำเรือ 150 นาย
    • ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบ Raytheon Anschutz MINS 2 (ring laser gyro)
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ แบบ Saab Sea Giraffe AMD 3D
    • เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง แบบ Saab CEROS 200 with CWI 2 ตัว
    • เรดาร์ค้นหาระยะไกล Thales LW08
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales STIR
    • ศูนย์เล็งกำหนดเป้าหมาย แบบ Saab Bridge Pointers TDS
    • ระบบพิสูจน์ฝ่าย แบบ Selex SIT422 interogator และ Selex M425 transponder
    • ระบบ radar ESM แบบ ITT ES-3601 (AN/SLQ-4)
    • ระบบ communication ESM
    • โซนาร์หัวเรือ Atlas Elektronic DSQS-24
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบรวมการสื่อสาร แบบ Saab TactiCall ICS
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ Saab Link-E/G (TIDLS)
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ AviaSatcom Link-RTN
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ Link-11 (TADIL-A)
    • ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ (AIS)
    • ระบบอุตุนิยมวิทยา
  • ระบบอาวุธ
    • ระบบอำนวยการรบ แบบ Saab 9LV Mk.4
    • ปืน 5 นิ้ว/54(127 มม.) ปืนใหญ่เรือ MK-45 MOD-2
    • ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS-30MR/Mk.44 ขนาด 30 มม. แท่นเดี่ยว 2 กระบอก
    • ท่อยิง Mk.41 Vls สำหรับ 32 x [RIM-162 ESSM]] 8 ท่อยิง
    • RGM-84 Harpoon 8 ท่อยิง
    • ตอร์ปิโดแฝดสาม 324 มม. MK-32 MOD-5 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง แบบ Terma DL-12T แท่นละ 12 ท่อยิง 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง แบบ Terma Mk.137 แท่นละ 6 ท่อยิง 4 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • 1 x เจเนอรัลอีเลคทริค LM2500+ แก็สเทอร์ไบน์ และ 2 × เครื่องยนต์ดีเซล เอ็มทียู 20V1163 TB83
    • ใบจักร แบบ CPP 2 พวง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.dockyard.navy.mi.th
  • http://www.navy.mi.th/frigate2/
  • https://th.wikipedia.org

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑