Category: Uncategorized

เรือ ต.261

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.2551 – 2560 ที่ได้กำหนดความต้องการเรือตรวจการชายฝั่ง เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ โดยดำเนินโครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง จำนวน 20 ลำ เพื่อทดแทนเรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย

  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.232 จำนวน 6 ลำ (ต.232 – ต.237)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จำนวน 4 ลำ (ต.261 – ต.264)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.265 จำนวน 5 ลำ (ต.265 – ต.269)
  • โครงการจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270 จำนวน 5 ลำ (ต.270 – ต.274)

กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.261 จะเข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ มีภารกิจในการตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 261
    • วางกระดูกงู 7 ก.ย. 2558
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 10 มี.ค. 2560
    • ขึ้นระวางประจำการ 6 ก.ย. 2560
    • ผู้สร้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกลขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มม. จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ตราอักษร MAN รุ่น D2862 LE463 กำลังเครื่องยนต์ 1,029 kW ที่ 2,100 RPM จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด 32 kWe, 220 V AC. 1 Phase 50 Hz. จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักรแบบ fixed pitch 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://aagth1.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • https://www.thairath.co.th/

เรือ ต.241 ต.242 ต.243

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือ ต.241 ต.242 และ ต.243 (Seafox Mk.IV class Special Warfare Craft Light) เป็นเรือที่นำมาใช้ตามภารกิจของหน่วยสงครามพิเศษทางเรือ ซึ่งนำแบบอย่างมาจากของ ทร.สหรัฐ แต่จะมีอาวุธค่อนข้างน้อยกว่าให้เหมาะสมกับหลักนิยมการปฏิบัติการของ หน่วยสงครามพิเศษทางเรือ (นสร.)

หลังการปลดประจำการ เรือ ต.241 ได้ตรียมนำไป ใช้ในโครงการจัดสร้างอุทยานการเรียนรู้ใต้ท้องทะเลของจังหวัดกระบี่


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 241, 242, 243
    • ปลดประจำการ (ไม่ทราบแน่ชัด)
    • ผู้สร้าง ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 10.80 เมตร
    • ความกว้าง 3.0 เมตร
    • กินน้ำลึก 0.80 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 32 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 12 ตัน
    • กำลังพลประจำเรือ 3 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 183 TA91 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา

แหล่งอ้างอิง

http://www.thaiarmedforce.com

เรือ ต.237

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ มีแผนจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (ตกช.) จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทน เรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย เรือตรวจการณ์ชายฝั่งชุด เรือ ต.21 – ต.29 และชุดเรือ ต.211 – ต.212 ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับจากโครงการช่วยเหลือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2519 โดยก่อนหน้านี้ กองทัพเรือ ได้เคยว่าจ้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด สร้างเรือ ตกช. แบบเดียวกันนี้มาแล้ว จำนวน 3 ลำ (ต.228 – ต.230) โดยได้ดำเนินการต่อแล้วเสร็จ และส่งมอบให้กองทัพเรือ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2556 ซึ่งสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี สำหรับเรือ ตกช. จำนวน 6 ลำ มีพิธีวางกระดูกงู เมื่อ 19 ธ.ค. 2557 พิธีปล่อยเรือลงน้ำ เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2559 โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธาน และมี นางปรานี อารีนิจ เป็นผู้ประกอบพิธีปล่อยเรือลงน้ำ และ รับมอบเมื่อ 30 พ.ย. 2559 ประกอบด้วยเรือ ต.232 เรือ ต.233 เรือ ต. 234 เรือ ต.235 เรือ ต. 236 และ เรือ ต. 237 กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ต.232 – ต.237 เข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ

ภารกิจของหน่วย

ตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 237
    • วางกระดูกงู 19 ธ.ค.2557
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 4 เม.ย.2559
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 พ.ย. 2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มิลลิเมตร จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ MAN รุ่น D2862 LE463 จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • http://www.thaiarmedforce.com/

เรือ ต.236

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ มีแผนจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (ตกช.) จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทน เรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย เรือตรวจการณ์ชายฝั่งชุด เรือ ต.21 – ต.29 และชุดเรือ ต.211 – ต.212 ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับจากโครงการช่วยเหลือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2519 โดยก่อนหน้านี้ กองทัพเรือ ได้เคยว่าจ้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด สร้างเรือ ตกช. แบบเดียวกันนี้มาแล้ว จำนวน 3 ลำ (ต.228 – ต.230) โดยได้ดำเนินการต่อแล้วเสร็จ และส่งมอบให้กองทัพเรือ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2556 ซึ่งสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี สำหรับเรือ ตกช. จำนวน 6 ลำ มีพิธีวางกระดูกงู เมื่อ 19 ธ.ค. 2557 พิธีปล่อยเรือลงน้ำ เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2559 โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธาน และมี นางปรานี อารีนิจ เป็นผู้ประกอบพิธีปล่อยเรือลงน้ำ และ รับมอบเมื่อ 30 พ.ย. 2559 ประกอบด้วยเรือ ต.232 เรือ ต.233 เรือ ต. 234 เรือ ต.235 เรือ ต. 236 และ เรือ ต. 237 กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ต.232 – ต.237 เข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ

ภารกิจของหน่วย

ตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 236
    • วางกระดูกงู 19 ธ.ค.2557
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 4 เม.ย.2559
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 พ.ย. 2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มิลลิเมตร จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ MAN รุ่น D2862 LE463 จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • http://www.thaiarmedforce.com/

เรือ ต.235

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ มีแผนจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (ตกช.) จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทน เรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย เรือตรวจการณ์ชายฝั่งชุด เรือ ต.21 – ต.29 และชุดเรือ ต.211 – ต.212 ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับจากโครงการช่วยเหลือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2519 โดยก่อนหน้านี้ กองทัพเรือ ได้เคยว่าจ้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด สร้างเรือ ตกช. แบบเดียวกันนี้มาแล้ว จำนวน 3 ลำ (ต.228 – ต.230) โดยได้ดำเนินการต่อแล้วเสร็จ และส่งมอบให้กองทัพเรือ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2556 ซึ่งสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี สำหรับเรือ ตกช. จำนวน 6 ลำ มีพิธีวางกระดูกงู เมื่อ 19 ธ.ค. 2557 พิธีปล่อยเรือลงน้ำ เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2559 โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธาน และมี นางปรานี อารีนิจ เป็นผู้ประกอบพิธีปล่อยเรือลงน้ำ และ รับมอบเมื่อ 30 พ.ย. 2559 ประกอบด้วยเรือ ต.232 เรือ ต.233 เรือ ต. 234 เรือ ต.235 เรือ ต. 236 และ เรือ ต. 237 กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ต.232 – ต.237 เข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ

ภารกิจของหน่วย

ตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 235
    • วางกระดูกงู 19 ธ.ค.2557
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 4 เม.ย.2559
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 พ.ย. 2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มิลลิเมตร จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ MAN รุ่น D2862 LE463 จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • http://www.thaiarmedforce.com/

เรือ ต.234

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ มีแผนจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (ตกช.) จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทน เรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย เรือตรวจการณ์ชายฝั่งชุด เรือ ต.21 – ต.29 และชุดเรือ ต.211 – ต.212 ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับจากโครงการช่วยเหลือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2519 โดยก่อนหน้านี้ กองทัพเรือ ได้เคยว่าจ้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด สร้างเรือ ตกช. แบบเดียวกันนี้มาแล้ว จำนวน 3 ลำ (ต.228 – ต.230) โดยได้ดำเนินการต่อแล้วเสร็จ และส่งมอบให้กองทัพเรือ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2556 ซึ่งสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี สำหรับเรือ ตกช. จำนวน 6 ลำ มีพิธีวางกระดูกงู เมื่อ 19 ธ.ค. 2557 พิธีปล่อยเรือลงน้ำ เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2559 โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธาน และมี นางปรานี อารีนิจ เป็นผู้ประกอบพิธีปล่อยเรือลงน้ำ และ รับมอบเมื่อ 30 พ.ย. 2559 ประกอบด้วยเรือ ต.232 เรือ ต.233 เรือ ต. 234 เรือ ต.235 เรือ ต. 236 และ เรือ ต. 237 กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ต.232 – ต.237 เข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ

ภารกิจของหน่วย

ตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 234
    • วางกระดูกงู 19 ธ.ค.2557
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 4 เม.ย.2559
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 พ.ย. 2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มิลลิเมตร จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ MAN รุ่น D2862 LE463 จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • http://www.thaiarmedforce.com/

เรือ ต.233

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ มีแผนจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (ตกช.) จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทน เรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย เรือตรวจการณ์ชายฝั่งชุด เรือ ต.21 – ต.29 และชุดเรือ ต.211 – ต.212 ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับจากโครงการช่วยเหลือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2519 โดยก่อนหน้านี้ กองทัพเรือ ได้เคยว่าจ้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด สร้างเรือ ตกช. แบบเดียวกันนี้มาแล้ว จำนวน 3 ลำ (ต.228 – ต.230) โดยได้ดำเนินการต่อแล้วเสร็จ และส่งมอบให้กองทัพเรือ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2556 ซึ่งสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี สำหรับเรือ ตกช. จำนวน 6 ลำ มีพิธีวางกระดูกงู เมื่อ 19 ธ.ค. 2557 พิธีปล่อยเรือลงน้ำ เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2559 โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธาน และมี นางปรานี อารีนิจ เป็นผู้ประกอบพิธีปล่อยเรือลงน้ำ และ รับมอบเมื่อ 30 พ.ย. 2559 ประกอบด้วยเรือ ต.232 เรือ ต.233 เรือ ต. 234 เรือ ต.235 เรือ ต. 236 และ เรือ ต. 237 กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ต.232 – ต.237 เข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ

ภารกิจของหน่วย

ตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 233
    • วางกระดูกงู 19 ธ.ค.2557
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 4 เม.ย.2559
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 พ.ย. 2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มิลลิเมตร จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ MAN รุ่น D2862 LE463 จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • http://www.thaiarmedforce.com/

เรือ ต.232

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือ มีแผนจัดหาเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (ตกช.) จำนวน 10 ลำ เพื่อทดแทน เรือตรวจการณ์ชายฝั่งเดิม ที่ใช้ราชการมาเป็นเวลานาน และมีกำหนดที่จะปลดระวาง ประกอบด้วย เรือตรวจการณ์ชายฝั่งชุด เรือ ต.21 – ต.29 และชุดเรือ ต.211 – ต.212 ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับจากโครงการช่วยเหลือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 – 2519 โดยก่อนหน้านี้ กองทัพเรือ ได้เคยว่าจ้าง บริษัทมาร์ซัน จำกัด สร้างเรือ ตกช. แบบเดียวกันนี้มาแล้ว จำนวน 3 ลำ (ต.228 – ต.230) โดยได้ดำเนินการต่อแล้วเสร็จ และส่งมอบให้กองทัพเรือ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2556 ซึ่งสามารถปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี สำหรับเรือ ตกช. จำนวน 6 ลำ มีพิธีวางกระดูกงู เมื่อ 19 ธ.ค. 2557 พิธีปล่อยเรือลงน้ำ เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2559 โดยมี พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธาน และมี นางปรานี อารีนิจ เป็นผู้ประกอบพิธีปล่อยเรือลงน้ำ และ รับมอบเมื่อ 30 พ.ย. 2559 ประกอบด้วยเรือ ต.232 เรือ ต.233 เรือ ต. 234 เรือ ต.235 เรือ ต. 236 และ เรือ ต. 237 กองทัพเรือ ได้ว่าจ้างให้ บริษัท มาร์ซัน จำกัด เป็นผู้ดำเนินการสร้างเรือ เพื่อเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมการต่อเรือภายในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ โดยเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ต.232 – ต.237 เข้าประจำการในกองเรือยามฝั่ง กองเรือยุทธการ

ภารกิจของหน่วย

ตรวจการณ์ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 232
    • วางกระดูกงู 19 ธ.ค.2557
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 4 เม.ย.2559
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 พ.ย. 2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.56 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.05 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 45 ตัน
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 2
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกลขนาด .50 นิ้ว จำนวน 1 กระบอก
    • เครื่องยิงลูกระเบิด 81 มิลลิเมตร จำนวน 1 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ MAN รุ่น D2862 LE463 จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องไฟฟ้าขนาด จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • https://www.facebook.com/prthainavy/
  • http://www.thaiarmedforce.com/

เรือ ต.231

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือตรวจการณ์ชายฝั่งความเร็วสูงแบบ ต.231 ไฮซูแคท (Hysucat 18 class PBH) ต่อโดยอู่บริษัท เทคนอติก อินเตอร์เทรดดิ้ง จำกัด (ประเทศไทย) เป็นเรือตรวจการณ์ความเร็วสูงที่ใช้เทคโนโลยีตัวเรือแฝด Catamaran หรือเรือท้องแฝด เป็นเรือต้นแบบทดสอบสาธิต Technology ใหม่ในสมัยนั้น

หลังการปลดประจำการ เรือ ต.231 ได้เตรียมนำไป ใช้ในโครงการจัดสร้างอุทยานการเรียนรู้ใต้ท้องทะเลของจังหวัดกระบี่


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 231
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 9 ธ.ค.2530
    • ขึ้นระวางประจำการ 11 ก.พ. 2531
    • ปลดประจำการ (ไม่ทราบแน่ชัด)
    • ผู้สร้าง บริษัท Technautic Intertrading ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 18.25 เมตร
    • ความกว้าง 6.57 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.61 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 38 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 37 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 600 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel TBD234 V12 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://aagth1.blogspot.com

เรือ ต.230

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองทัพเรือได้รับอนุมัติให้จัดสร้างเรือตรวจการณ์ชายฝั่งจำนวน 3 ลำ เพื่อเป็นการชดเชยเรือเก่าที่ได้ปลดระวาง และเพิ่มจำนวน ในการสนองภารกิจให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยว่าจ้าง มาร์ซัน จำกัด ลงนามสัญญาจัดสร้างเรือทั้ง 3 ลำ ขึ้นตั้งแต่เมื่อวันที่ 19 ก.ค. 54 มีห้วงระยะเวลาการต่อเรือ 26 เดือน ภารกิจของหน่วย

ภารกิจหลัก การตรวจการ สกัดกั้น ลาดตระเวน ป้องกันการแทรกซึมทางทะเลและชายฝั่ง คุ้มครองเรือประมงและเรือพาณิชย์ ป้องกันและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติบริเวณชายฝั่งทะเล ในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ที่กองทัพเรือได้รับมอบหมาย รวมถึงการถวายความปลอดภัย แด่พระบรมวงศานุวงศ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 230
    • วางกระดูกงู 28 ก.ย.2554
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 8 มี.ค. 2556
    • ขึ้นระวางประจำการ 16 พ.ค. 2556
    • ผู้สร้าง บริษัท Marsun จำกัด ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 21.40 เมตร
    • ความกว้าง 5.60 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.10 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 43 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 350 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ความคงทนทะเล ระดับ sea state 2
    • กำลังพลประจำเรือ 9 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 81 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น (ติดตั้งคู่กับปืนกล M2HB)
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • กองเรือยามฝั่ง
  • https://www.dailynews.co.th/
  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://monsoonphotonews.blogspot.com

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑