Category: Uncategorized

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.94

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เมื่อปี 2503 ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงเสด็จประพาทยุโรป ได้ทรงทอดพระเนตรกิจการการต่อเรือยนต์รักษาฝั่งของกองทัพเรือเยอรมัน จึงทรงมีพระราชดำริว่า “กองทัพเรือน่าจะต่อเรือยนต์เร็วรักษาฝั่งเช่นนี้ได้ เพื่อที่จะให้เกิดความชำนาญงาน และรู้จักใช้เทคนิคต่างๆ อันจะเป็นการประหยัดมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ” จึงทำให้กองทัพเรือ โดยกรมอู่ทหารเรือรับสนองพระราชดำริโดยการต่อเรือในชุดเรือ ต.91 ขึ้น ซึ่งในระหว่างการดำเนินการนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานคำแนะนำ ตลอดจนแก้ปัญหาต่างๆ อันเกิดจากกระบวนการต่อเรือ รวมถึงทรงเป็นธุระติดต่อกับสถาบันวิจัยและทดลองแบบเรือแห่งชาติของประเทศอังกฤษ ให้ทำการทดสอบแบบของเรือ ต.91 ให้ แม้แต่การทดสอบเรือในทะเล พระองค์ก็ทรงเสด็จไปร่วมทดสอบด้วยพระองค์เอง ทั้งยังทรงตรวจแก้ข้อผิดพลาดต่างๆ จนทำให้การต่อเรือสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2511 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จไปประกอบพิธีปล่อยเรือ ต.91 ลงน้ำ และนับจากนั้น กองทัพเรือได้ดำเนินการต่อเรือในชุด ต.91 เพิ่มเติมอีกคือ ต.92, ต.93, ต.94, ต.95, ต.96, ต.97, ต.98 และ ต.99 ในระหว่างปี 2514-2530


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 94
    • ขึ้นระวางประจำการ 16 ก.ย. 2524
    • ปลดประจำการ 1 ต.ค. 2562
    • ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 34 เมตร
    • ความกว้าง 5.70 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.60 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 27 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 134 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 973 ไมล์ ที่ 21 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 538 TB80-82 จำนวน 2 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • http://www.thailand24news.com

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.93

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เมื่อปี 2503 ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงเสด็จประพาทยุโรป ได้ทรงทอดพระเนตรกิจการการต่อเรือยนต์รักษาฝั่งของกองทัพเรือเยอรมัน จึงทรงมีพระราชดำริว่า “กองทัพเรือน่าจะต่อเรือยนต์เร็วรักษาฝั่งเช่นนี้ได้ เพื่อที่จะให้เกิดความชำนาญงาน และรู้จักใช้เทคนิคต่างๆ อันจะเป็นการประหยัดมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ” จึงทำให้กองทัพเรือ โดยกรมอู่ทหารเรือรับสนองพระราชดำริโดยการต่อเรือในชุดเรือ ต.91 ขึ้น ซึ่งในระหว่างการดำเนินการนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานคำแนะนำ ตลอดจนแก้ปัญหาต่างๆ อันเกิดจากกระบวนการต่อเรือ รวมถึงทรงเป็นธุระติดต่อกับสถาบันวิจัยและทดลองแบบเรือแห่งชาติของประเทศอังกฤษ ให้ทำการทดสอบแบบของเรือ ต.91 ให้ แม้แต่การทดสอบเรือในทะเล พระองค์ก็ทรงเสด็จไปร่วมทดสอบด้วยพระองค์เอง ทั้งยังทรงตรวจแก้ข้อผิดพลาดต่างๆ จนทำให้การต่อเรือสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2511 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จไปประกอบพิธีปล่อยเรือ ต.91 ลงน้ำ และนับจากนั้น กองทัพเรือได้ดำเนินการต่อเรือในชุด ต.91 เพิ่มเติมอีกคือ ต.92, ต.93, ต.94, ต.95, ต.96, ต.97, ต.98 และ ต.99 ในระหว่างปี 2514-2530

ภายหลังการปลดประจำการ กองทัพเรือได้ส่งมอบให้ เจษฎาเทคนิคมิวเซียม ตำบลงิ้วราย อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เพื่อนำมาจัดแสดงแก่ประชาชนทั่วไป ซึ่งจะถูกจัดแสดงพร้อมกับ เรือหลวงอุดมเดช


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 93
    • ขึ้นระวางประจำการ 10 ส.ค. 2522
    • ปลดประจำการ ( – )
    • ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 34 เมตร
    • ความกว้าง 5.70 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.50 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 26 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 126 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 973 ไมล์ ที่ 21 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 538 TB80-82 จำนวน 2 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • http://www.thailand24news.com

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.92

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เมื่อปี 2503 ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงเสด็จประพาทยุโรป ได้ทรงทอดพระเนตรกิจการการต่อเรือยนต์รักษาฝั่งของกองทัพเรือเยอรมัน จึงทรงมีพระราชดำริว่า “กองทัพเรือน่าจะต่อเรือยนต์เร็วรักษาฝั่งเช่นนี้ได้ เพื่อที่จะให้เกิดความชำนาญงาน และรู้จักใช้เทคนิคต่างๆ อันจะเป็นการประหยัดมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ” จึงทำให้กองทัพเรือ โดยกรมอู่ทหารเรือรับสนองพระราชดำริโดยการต่อเรือในชุดเรือ ต.91 ขึ้น ซึ่งในระหว่างการดำเนินการนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานคำแนะนำ ตลอดจนแก้ปัญหาต่างๆ อันเกิดจากกระบวนการต่อเรือ รวมถึงทรงเป็นธุระติดต่อกับสถาบันวิจัยและทดลองแบบเรือแห่งชาติของประเทศอังกฤษ ให้ทำการทดสอบแบบของเรือ ต.91 ให้ แม้แต่การทดสอบเรือในทะเล พระองค์ก็ทรงเสด็จไปร่วมทดสอบด้วยพระองค์เอง ทั้งยังทรงตรวจแก้ข้อผิดพลาดต่างๆ จนทำให้การต่อเรือสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2511 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จไปประกอบพิธีปล่อยเรือ ต.91 ลงน้ำ และนับจากนั้น กองทัพเรือได้ดำเนินการต่อเรือในชุด ต.91 เพิ่มเติมอีกคือ ต.92, ต.93, ต.94, ต.95, ต.96, ต.97, ต.98 และ ต.99 ในระหว่างปี 2514-2530


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 92
    • ขึ้นระวางประจำการ 21 ธ.ค. 2519
    • ปลดประจำการ (-)
    • ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 34 เมตร
    • ความกว้าง 5.70 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.50 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 27 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 126 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 973 ไมล์ ที่ 22 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 538 TB80-82 จำนวน 2 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • http://www.thailand24news.com

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.91

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เมื่อปี 2503 ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงเสด็จประพาทยุโรป ได้ทรงทอดพระเนตรกิจการการต่อเรือยนต์รักษาฝั่งของกองทัพเรือเยอรมัน จึงทรงมีพระราชดำริว่า “กองทัพเรือน่าจะต่อเรือยนต์เร็วรักษาฝั่งเช่นนี้ได้ เพื่อที่จะให้เกิดความชำนาญงาน และรู้จักใช้เทคนิคต่างๆ อันจะเป็นการประหยัดมากกว่าการจัดหาจากต่างประเทศ” จึงทำให้กองทัพเรือ โดยกรมอู่ทหารเรือรับสนองพระราชดำริโดยการต่อเรือในชุดเรือ ต.91 ขึ้น ซึ่งในระหว่างการดำเนินการนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานคำแนะนำ ตลอดจนแก้ปัญหาต่างๆ อันเกิดจากกระบวนการต่อเรือ รวมถึงทรงเป็นธุระติดต่อกับสถาบันวิจัยและทดลองแบบเรือแห่งชาติของประเทศอังกฤษ ให้ทำการทดสอบแบบของเรือ ต.91 ให้ แม้แต่การทดสอบเรือในทะเล พระองค์ก็ทรงเสด็จไปร่วมทดสอบด้วยพระองค์เอง ทั้งยังทรงตรวจแก้ข้อผิดพลาดต่างๆ จนทำให้การต่อเรือสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2511 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จไปประกอบพิธีปล่อยเรือ ต.91 ลงน้ำ และนับจากนั้น กองทัพเรือได้ดำเนินการต่อเรือในชุด ต.91 เพิ่มเติมอีกคือ ต.92, ต.93, ต.94, ต.95, ต.96, ต.97, ต.98 และ ต.99 ในระหว่างปี 2514-2530

ภายหลังการปลดประจำการ กองทัพเรือโดยกองเรือยุทธการ ได้นำเรือ ต.91 มาอนุรักษ์จัดตั้งเป็นอุทยานประวัติศาสตร์เรือของพ่อ “เรือ ต.91” ณ บริเวณอ่าวดงตาล กองเรือยุทธการ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 91
    • วางกระดูกงู 12 ก.ค. 2510
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 9 พ.ค. 2511
    • ขึ้นระวางประจำการ 12 ส.ค. 2511
    • ปลดประจำการ 1 ต.ค. 2562
    • ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 31.18 เมตร
    • ความกว้าง 5.36 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.70 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 22 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 124 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 973 ไมล์ ที่ 19 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 538 TB80-82 จำนวน 2 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • http://www.thailand24news.com
  • http://www.navedu.navy.mi.th

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.83

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือชุด ต.81 เป็นเรือตรวจการณ์ชั้น Keka ออกแบบโดย Australian Submarine Corporation (ASC Pty Ltd.) ให้กองทัพเรือไทยจำนวน 3 ลำ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาแบบเพิ่มเติม และต่อให้กับ ตำรวจน้ำฮ่องกงอีกจำนวน 6 ลำ เรือชุด ต.81 ASC ร่วมต่อกับบริษัท Silkline International โดยต่อที่อู่ของ Silkline ที่ปากน้ำปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 83
    • ขึ้นระวางประจำการ 27 ต.ค. 2543
    • ผู้สร้าง Silkline International – Australian Submarine Corporation (ASC) Joint Venture ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 30.10 เมตร
    • ความกว้าง 6.10 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.80 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 110 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,300 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 2000 TE90 จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 099 TE51 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • https://www.revolvy.com/

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.82

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือชุด ต.81 เป็นเรือตรวจการณ์ชั้น Keka ออกแบบโดย Australian Submarine Corporation (ASC Pty Ltd.) ให้กองทัพเรือไทยจำนวน 3 ลำ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาแบบเพิ่มเติม และต่อให้กับ ตำรวจน้ำฮ่องกงอีกจำนวน 6 ลำ เรือชุด ต.81 ASC ร่วมต่อกับบริษัท Silkline International โดยต่อที่อู่ของ Silkline ที่ปากน้ำปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 82
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 ธ.ค. 2542
    • ผู้สร้าง Silkline International – Australian Submarine Corporation (ASC) Joint Venture ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 30.10 เมตร
    • ความกว้าง 6.10 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.80 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 110 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,300 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 2000 TE90 จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 099 TE51 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • https://www.revolvy.com/

เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง ต.81

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือชุด ต.81 เป็นเรือตรวจการณ์ชั้น Keka ออกแบบโดย Australian Submarine Corporation (ASC Pty Ltd.) ให้กองทัพเรือไทยจำนวน 3 ลำ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาแบบเพิ่มเติม และต่อให้กับ ตำรวจน้ำฮ่องกงอีกจำนวน 6 ลำ เรือชุด ต.81 ASC ร่วมต่อกับบริษัท Silkline International โดยต่อที่อู่ของ Silkline ที่ปากน้ำปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ์


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 81
    • ขึ้นระวางประจำการ 4 ส.ค. 2542
    • ผู้สร้าง Silkline International – Australian Submarine Corporation (ASC) Joint Venture ประเทศไทย
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 30.10 เมตร
    • ความกว้าง 6.10 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.80 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 110 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,300 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Anritsu
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 2000 TE90 จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 099 TE51 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • https://www.revolvy.com/

เรือ ต.18

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐได้มีการดัดแปลงเรือไม้และเรือเหล็กที่ใช้สำหรับปราบเรือดำน้ำ (submarine chaser) เป็นเรือยนต์ปืน (motor gunboat) เพื่อใช้ปฏิบัติงานร่วมกับเรือตรวจการณ์ โดยมีการเพิ่มเติมอาวุธปืนลงไป อย่างไรก็ตาม การดัดแปลงดังกล่าว ทำให้ความเร็วเรือลดลง แต่ก็ยังสามารถนำไปใช้งานในด้านการกวาดทุ่นระเบิดได้ดี ซึ่งต่อมา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาได้มีการส่งมอบเรือที่ต่อโดยใช้รูปแบบดังกล่าวให้ ทร. ตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Miitary Assistance Program : MAP) จำนวน 10 ลำ ได้แก่ PGM-71(ต.11) PGM-79(ต.12) PGM-107(ต.13) PGM-113(ต.14) PGM-114(ต.15) PGM-115(ต.16) PGM-116(ต.17) PGM-117(ต.18) PGM-123(ต.19) และ PGM-124(ต.110)

เรือ ต.18 รอการส่งซากเรือคืน ต่อให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ตามข้อตกลงโครงการให้ความช่วยเหลือทางทหาร


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 18
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 9 มิ.ย.2512
    • ส่งมอบให้ไทย 12 ก.พ.2513
    • ขึ้นระวางประจำการ 13 เม.ย.2513
    • ปลดประจำการ 1 ต.ค.2560
    • ผู้สร้าง บริษัท Peterson Builders ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 30.30 เมตร
    • ความกว้าง 6.40 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.70 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 18 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 146 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,411 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 30 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว จำนวน 2 แท่น
    • เครื่องยิงลูกระเบิด Mk 81 mod 2 ขนาด 81 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6-71 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com/
  • http://www.navsource.org

เรือหลวงศรีราชา

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 543
    • ขึ้นระวางประจำการ 24 ก.ย. 2544
    • ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 61.67 เมตร
    • ความกว้าง 8.90 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.64 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ546 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 624 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,667 ไมล์
    • ปฏิบัติงานในทะเลต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 10 วัน
    • กำลังพลประจำเรือ 45 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine 2 ชุด
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ Mk 22 mod 0 ขนาด 76 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว จำนวน 2 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อน
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Paxman) 12VP185 3 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 1 ชุด และแบบมุมตายตัว 2 ชุด
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

  • http://www2.fleet.navy.mi.th/patrolsqdn/
  • https://sites.google.com/site/vichayasan1812/

เรือหลวงแกลง

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 542
    • ขึ้นระวางประจำการ 17 ก.ค. 2544
    • ผู้สร้าง บริษัท Asian Marine Services
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 61.67 เมตร
    • ความกว้าง 8.90 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.64 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 25 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ546 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 624 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,667 ไมล์
    • ปฏิบัติงานในทะเลต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 10 วัน
    • กำลังพลประจำเรือ 45 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine 2 ชุด
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ Mk 22 mod 0 ขนาด 76 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว จำนวน 2 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อน
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Paxman) 12VP185 3 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 1 ชุด และแบบมุมตายตัว 2 ชุด
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

  • http://www2.fleet.navy.mi.th/patrolsqdn/
  • https://sites.google.com/site/vichayasan1812/

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑