Category: Uncategorized

เรือหลวงสุรินทร์

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 722
    • นามเรียกขานสากล HSZX
    • วางกระดูกงู 30 ต.ค. 2529
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 25 ธ.ค. 2530
    • ขึ้นระวางประจำการ 20 มี.ค. 2532
    • ผู้สร้าง บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 112.50 เมตร
    • ความกว้าง 15.40 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.10 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 16 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 4,520 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 7,000 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 122 นาย
    • ตัวเรือสร้างด้วย เหล็กกล้าดีเหนียว
    • ส่วนประกอบตัวเรือสร้างด้วย เหล็ก
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden 2 ชุด
    • ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง BAE Sea Archer Mk 1A mod 2
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk.20 DM6 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 1163 TB62 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
  • ระบบอื่นๆ
    • เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP) 4 ลำ
    • บรรทุกกำลังพลและ สิ่งอำนวยความสะดวก รองรับนาวิกโยธินพร้อมรบได้ 354 นาย
    • การบรรทุกยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ ได้ 850 ตัน
    • ดาดฟ้าบิน 2 จุด สามารถรับส่งเฮลิคอปเตอร์ Bell-212 ได้จุดละ 1 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

  • http://thaiarmedforce.com
  • https://th.wikipedia.org

เรือหลวงสีชัง

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 721
    • วางกระดูกงู 22 ก.ค. 2528
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 9 ต.ค. 2530
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 ต.ค. 2530
    • ผู้สร้าง อู่ Italthai Marine
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 103 เมตร
    • ความกว้าง 15.70 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.30 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 16 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 3,540 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 7,000 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 122 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden 2 ชุด
    • ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง BAE Sea Archer Mk 1A mod 2
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk.20 DM6 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 1163 TB62 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
  • ระบบอื่นๆ
    • เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP) 4 ลำ
    • บรรทุกกำลังพลและ สิ่งอำนวยความสะดวก รองรับนาวิกโยธินพร้อมรบได้ 339 นาย
    • การบรรทุกยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ ได้ 850 ตัน
    • ดาดฟ้าบิน 2 จุด สามารถรับส่งเฮลิคอปเตอร์ Bell-212 ได้จุดละ 1 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

http://thaiarmedforce.com

เรือหลวงอ่างทอง (ลำที่ 3)

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

โครงการจัดหาเรือหลวงอ่างทองเข้าประจำการ เป็นไปตามแผนพัฒนากองทัพในระยะ 9 ปี โดยกองทัพเรือได้ว่าจ้างบริษัท Singapore Technologies Marine Ltd. (ST Marine) สาธารณรัฐสิงคโปร์ สร้างเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ ตามสัญญา เลขที่ APS1/2008 ลงวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551 ระยะเวลาสร้างเรือประมาณ 4 ปี โดย พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์ ผู้บัญชาการทหารเรือในขณะนั้น เป็นผู้ลงนาม ในสัญญาจ้าง ด้วยงบประมาณในการสร้างเรือเป็นเงินประมาณ 4,944 ล้านบาท เพื่อทดแทนเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ชุด เรือหลวงอ่างทอง (ลำเก่า) จำนวน 5 ลำ ที่ปลดระวางประจำการไปแล้วทั้งหมด โดยลำสุดท้ายคือ เรือหลวงพระทอง ที่ปลดระวางประจำการไปเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2551

การตั้งชื่อเรือ

เรือหลวงอ่างทองลำปัจจุบัน เป็นเรือลำที่สาม ในประวัติศาสตร์ของราชนาวีไทย ที่ได้รับพระราชทานนามว่า เรือหลวงอ่างทอง โดยเรือหลวงอ่างทองลำแรกนั้น เดิมทีเป็นเรือพระที่นั่งชื่อ เรือพระที่นั่งมหาจักรี (ลำที่สอง) ในสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นเรือประเภทเรือยอช์ต ขึ้นระวางประจำการเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2461 ต่อมาในปี พ.ศ.2478 ได้ถูกปลดจากเรือพระที่นั่ง และได้นำมาใช้เป็นเรือพี่เลี้ยงเรือดำน้ำ จนกระทั่งในปี พ.ศ.2488 เรือหลวงอ่างทองลำแรกนี้ ได้ถูกเครื่องบิน B – 24 ทิ้งระเบิด และกระหน่ำยิงซ้ำด้วย ปืนกล เสียหายอย่างหนักที่อ่าวสัตหีบ พร้อมกับเรือหลวงอู่ทอง เรือหลวงท่าจีน และ เรือสุธาทิพย์ ทำให้ เรือหลวงอ่างทอง ลำแรกใช้การไม่ได้ ต้องปลดระวางประจำการในที่สุด ส่วนเรือหลวงอ่างทองลำที่สอง เป็นเรือประเภทเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ หมายเลข 711 เดิมคือเรือ USS LST – 924 ของสหรัฐอเมริกา เป็นเรือที่อยู่ในชั้น Landing Ship Tank (LST) สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2487 และได้เข้าร่วมปฏิบัติการในสงครามโลกครั้งที่ 2 ทันที จนได้รับเหรียญกล้าหาญชั้น Four Battle Star และสหรัฐอเมริกาได้มอบให้กองทัพไทย ไว้ใช้ราชการในปี พ.ศ.2490 ซึ่งกองทัพเรือไทยก็ได้ใช้งานเรือลำนี้มาเป็นเวลายาวนานถึง 49 ปี จนปลดประจำการในปี พ.ศ.2549 สำหรับเรือหลวงอ่างทอง ลำที่สาม หรือลำปัจจุบัน เป็นเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ หมายเลขประจำเรือคือ 791 เป็นประเภทเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ชนิดที่มีอู่ลอยสำหรับเรือเล็กประจำเรืออยู่ภายใน หรืออาจเรียกว่า Landing Platform Dock (LPD)

ภารกิจของหน่วย

มีภารกิจในการช่วยเหลือประชาชน การบรรเทาสาธารณภัย ค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล การปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบก และ การขนส่งลำเลียงทางทะเล เป็นเรือบัญชาการและฐานปฏิบัติการในทะเล


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 791
    • วางกระดูกงู 24 มี.ค.2552
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 20 มี.ค.2554
    • ขึ้นระวางประจำการ 3 เม.ย.2555
    • ผู้สร้าง Singapore Technologies Marine Ltd. (ST Marine)
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 141 เมตร
    • ความกว้าง 21 เมตร
    • กินน้ำลึก 4.60 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 17 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 7,600 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 5,000 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 45 วัน
    • กำลังพลประจำเรือ 151 นาย
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 6
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์อากาศ-พื้นน้ำ Terma แบบ Scanter 4100 (2D)
    • EOD (Electro – Optical Director)
    • เรดาร์เดินเรือ Raytheon Anschutz NSC-25(Seascout)
    • ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ AIS
    • ระบบพิสูจน์ฝ่าย (IFF)
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบรวมการสื่อสาร 1 ระบบ (ICS)
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนหลัก OTO Melara 76/62 มม. super rapid จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกล 30 มม. MSI จำนวน 2 กระบอก
    • ปืนกล .50 นิ้ว จำนวน 6 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล ตราอักษร CATERPILLAR แบบ C280-12 จำนวน 2 เครื่อง
    • ระบบเพลาใบจักร แบบ ปรับพิทช์ได้ ตราอักษร WARTSILA LIPS จำนวน 2 ชุด
    • ใบจักรพวงละ 4 ใบ จำนวน 2 พวง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขับด้วยเครื่องยนต์ดีเซล ตราอักษร CATERPILLAR แบบ 3512B จำนวน 4 เครื่อง
    • Bow Thruster ตราอักษร WARTSILA LIPS จำนวน 1 ชุด
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP) จำนวน 2 ลำ
    • เรือระบายพลขนาดกลาง (LCM) จำนวน 2 ลำ
    • มีห้องพยาบาล ห้องผ่าตัด ห้องทันตกรรม
    • โรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ (Hangar)
    • เครน ขนาด 20 ตัน และ 10 ตัน ที่กราบขวา และกราบซ้าย
    • จุดลงจอดเฮลิคอปเตอร์ จำนวน 2 จุด
    • มีห้องพักสำหรับกำลังรบยกพลขึ้นบก จำนวน 360 นาย พร้อมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวก
    • สามารถบรรทุกยานสะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibious Assault Vehicle : AAV) ได้จำนวน 19 คัน ยานล้อจำนวน 30 คัน เฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำ 2 ลำ และรถถังแบบ M60
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.dockyard.navy.mi.th
  • http://www.koryorpor.com

เรือหลวงภูเก็ต (ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 333
    • ขึ้นระวางประจำการ 17 ต.ค. 2526
    • ผู้สร้าง บริษัท Cantiere Navale Breda ประเทศอิตาลี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 60.40 เมตร
    • ความกว้าง 8.80 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.0 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 29 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 420 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 450 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,500 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 49 นาย
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 7 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61
    • เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD 8
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1226
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม. 2 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda Twin Compact ขนาด 40 มม. แท่นคู่ 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 538 TB92 จำนวน 3 เครื่อง
    • เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TC52 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมการ Elettronica Newton Alpha จำนวน 2 ชุด
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT 211
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ deception jammer Elettronica ELT 521
    • ระบบตรวจจับสัญญาณสื่อสาร Elettronica ELT 128
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 33 RBOC
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงสงขลา (ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 332
    • ขึ้นระวางประจำการ 8 ก.ค. 2526
    • ผู้สร้าง บริษัท Cantiere Navale Breda ประเทศอิตาลี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 60.40 เมตร
    • ความกว้าง 8.80 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.0 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 29 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 420 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 450 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,500 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 49 นาย
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 7 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61
    • เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD 8
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1226
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม. 2 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda Twin Compact ขนาด 40 มม. แท่นคู่ 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 538 TB92 จำนวน 3 เครื่อง
    • เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TC52 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมการ Elettronica Newton Alpha จำนวน 2 ชุด
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT 211
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ deception jammer Elettronica ELT 521
    • ระบบตรวจจับสัญญาณสื่อสาร Elettronica ELT 128
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 33 RBOC
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงชลบุรี (ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 331
    • ขึ้นระวางประจำการ 22 ก.พ. 2526
    • ผู้สร้าง บริษัท Cantiere Navale Breda ประเทศอิตาลี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 60.40 เมตร
    • ความกว้าง 8.80 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.0 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 29 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 420 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 450 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,500 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 49 นาย
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 7 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61
    • เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD 8
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1226
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม. 2 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda Twin Compact ขนาด 40 มม. แท่นคู่ 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 538 TB92 จำนวน 3 เครื่อง
    • เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TC52 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมการ Elettronica Newton Alpha จำนวน 2 ชุด
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT 211
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ deception jammer Elettronica ELT 521
    • ระบบตรวจจับสัญญาณสื่อสาร Elettronica ELT 128
    • ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 33 RBOC
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงราชฤทธิ์(ลำที่ 2)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

กองทัพเรือได้จัดหาเรือชุดเรือหลวงราชฤทธิ์ ในปี พ.ศ.2519 โดยใช้งบประมาณจากค่าสัมปทานสำรวจน้ำมันในทะเลจากบริษัทต่างๆ นอกเหนือจากงบประมาณประจำและมีชื่อโครงการว่า “การจัดหาเรือคุ้มครองการสำรวจน้ำมันในทะเล” โดยเรือชุด ร.ล.ราชฤทธิ์ เป็นเรือยนต์เร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถี(EXOCET) ประกอบด้วยเรือ 3 ลำ ได้แก่ ร.ล.ราชฤทธิ์ , ร.ล.วิทยาคม และ ร.ล.อุดมเดช


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 321
    • ขึ้นระวางประจำการ 10 ส.ค. 2522
    • ปลดประจำการ 30 ก.ย. 2564
    • ผู้สร้าง บริษัท Cantiere Navale Breda ประเทศอิตาลี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 49.80 เมตร
    • ความกว้าง 7.50 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.70 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 15 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 36 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 270 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 300 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,000 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 46 นาย
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 5 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM28 mod 41
    • ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
    • เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Decca RDL-2
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม. 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม. 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น MBDA Exocet MM38 2 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 538 TB91 จำนวน 3 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://thaidefense-news.blogspot.com
  • http://www.thaifighterclub.com/
  • https://www.facebook.com/RoyalThaiNavyFanpage/

เรือหลวงปราบปรปักษ์

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

เรือชุด ร.ล.ปราบปรปักษ์ เป็นเรือประเภท เรือยนต์เร็วโจมตีติดอาวุธปล่อยนำวิถีจรวดนำวิถีต่อต้านเรือรบแบบ Gabriel (ผลิตโดยบริษัท IAI ประเทศอิสราเอล) เรือชุดนี้ ประกอบด้วยเรือ 3 ลำ คือ ร.ล.ปราบปรปักษ์ (311) , ร.ล.หาญหักศัตรู (312) , ร.ล.สู้ไพรินทร์(313) เป็นเรือยนต์เร็วโจมตีที่มีความเร็วสูง มีระบบอาวุธที่ทันสมัย ต่อที่ บริษัท สิงคโปร์ชิพบิลดิ้ง แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด ประเทศสิงคโปร์ ปัจจุบันเรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถีชั้นปราบปรปักษ์ได้ถอดอาวุธปล่อยกาเบรียลออกแล้ว และได้ปรับเปลี่ยนประเภทเรือ เป็นเรือเร็วโจมตีปืน

หลังการปลดประจำการ เรือหลวงปราบปรปักษ์ เรือ ต.15 และ เรือ ต.16 ได้ถูกนำไป ใช้ในโครงการจัดสร้างอุทยานการเรียนรู้ใต้ท้องทะเลของจังหวัดกระบี่ โดยเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2564 เรือรบ จำนวน 3 ลำ ถูกนำไปวางบริเวณเกาะหมา จังหวัดกระบี่ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้คุณค่าความสำคัญของระบบนิเวศวิทยาทางทะเล ที่มีปะการังทำให้เกิดห่วงโซ่อาหาร หรือ Food chain ทั้งยังเป็นการสร้างบ้านปลาให้เป็นแหล่งอยู่อาศัยของฝูงปลาและสัตว์น้ำวัยอ่อนหลากหลายชนิดพันธุ์ พร้อมกันนี้ยังเป็นการสร้างแหล่งดำน้ำ เพิ่มเสน่ห์ให้การท่องเที่ยวทางทะเลของจังหวัดกระบี่ต่อไป

ภารกิจของหน่วย

  • ระดมยิงฝั่งด้วย ปก. 57/70
  • ต่อสู้อากาศยานด้วย ปก. 57/70 ปก. 40/70
  • ทำหน้าที่ Picket ของกองเรือ
  • ปฏิบัติการร่วมกับ บ./ฮ.
  • ควบคุมบังคับบัญชา ระดับหมู่เรือ
  • ป้องกันระยะประชิดด้วย ปก. 40/70 มม.และ ปก. .50 นิ้ว


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 311
    • ขึ้นระวางประจำการ 28 ก.ค. 2519
    • ปลดประจำการ 1 ต.ค. 2560
    • ผู้สร้าง บริษัท สิงคโปร์ ชิบบิลดิ้ง แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 44.90 เมตร
    • ความกว้าง 7.00 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.11 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 30 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 37.5 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 232 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 263 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,170 ไมล์
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 3 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM28 mod.5
    • เรดาร์เดินเรือ Decca TM 626
    • ระบบ ESM Argo Systems AR-700
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 57/70 มม. 1 กระบอก
    • ปืนกล 40/70 มม. 1 กระบอก
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 กระบอก
    • เครื่องควบคุมการยิง WM 28/5
    • แท่นยิงจรวดส่องสว่าง ขนาด 103 มม. ติดกับป้อมปืนใหญ่เรือ 6 ท่อยิง
    • แท่นยิงเป้าลวง 1 แท่น 10 กล่องยิง สำหรับเป้าลวง Dagaie
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล MTU 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 4 พวง
  • เรือในชุดเดียวกัน
ยิงอาวุธปล่อยนำวิถี เกเบรียล

แหล่งอ้างอิง

  • http://chaoprayanews.com/blog/yotin/
  • http://www2.fleet.navy.mi.th/patrolsqdn/

เรือหลวงหาญหักศัตรู

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

เรือชุด ร.ล.ปราบปรปักษ์ เป็นเรือประเภท เรือยนต์เร็วโจมตีติดอาวุธปล่อยนำวิถีจรวดนำวิถีต่อต้านเรือรบแบบ Gabriel (ผลิตโดยบริษัท IAI ประเทศอิสราเอล) เรือชุดนี้ ประกอบด้วยเรือ 3 ลำ คือ ร.ล.ปราบปรปักษ์ (311) , ร.ล.หาญหักศัตรู (312) , ร.ล.สู้ไพรินทร์(313) เป็นเรือยนต์เร็วโจมตีที่มีความเร็วสูง มีระบบอาวุธที่ทันสมัย ต่อที่ บริษัท สิงคโปร์ชิพบิลดิ้ง แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด ประเทศสิงคโปร์ ภายหลังเรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถีชั้นปราบปรปักษ์ได้ถอดอาวุธปล่อยกาเบรียลออก และได้ปรับเปลี่ยนประเภทเรือ เป็นเรือเร็วโจมตีปืน

ภารกิจของหน่วย

  • ระดมยิงฝั่งด้วย ปก. 57/70
  • ต่อสู้อากาศยานด้วย ปก. 57/70 ปก. 40/70
  • ทำหน้าที่ Picket ของกองเรือ
  • ปฏิบัติการร่วมกับ บ./ฮ.
  • ควบคุมบังคับบัญชา ระดับหมู่เรือ
  • ป้องกันระยะประชิดด้วย ปก. 40/70 มม.และ ปก. .50 นิ้ว


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 312
    • ขึ้นระวางประจำการ 6 พ.ย. 2519
    • ปลดประจำการ 1 ต.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัท สิงคโปร์ ชิบบิลดิ้ง แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 44.90 เมตร
    • ความกว้าง 7.00 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.11 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 30 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 37.5 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 232 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 263 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,170 ไมล์
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 3 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM28 mod.5
    • เรดาร์เดินเรือ Decca TM 626
    • ระบบ ESM Argo Systems AR-700
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 57/70 มม. 1 กระบอก
    • ปืนกล 40/70 มม. 1 กระบอก
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 กระบอก
    • เครื่องควบคุมการยิง WM 28/5
    • แท่นยิงจรวดส่องสว่าง ขนาด 103 มม. ติดกับป้อมปืนใหญ่เรือ 6 ท่อยิง
    • แท่นยิงเป้าลวง 1 แท่น 10 กล่องยิง สำหรับเป้าลวง Dagaie
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล MTU 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 4 พวง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://chaoprayanews.com/blog/yotin/
  • http://www2.fleet.navy.mi.th/patrolsqdn/

เรือหลวงสู้ไพรินทร์

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

เรือชุด ร.ล.ปราบปรปักษ์ เป็นเรือประเภท เรือยนต์เร็วโจมตีติดอาวุธปล่อยนำวิถีจรวดนำวิถีต่อต้านเรือรบแบบ Gabriel (ผลิตโดยบริษัท IAI ประเทศอิสราเอล) เรือชุดนี้ ประกอบด้วยเรือ 3 ลำ คือ ร.ล.ปราบปรปักษ์ (311) , ร.ล.หาญหักศัตรู (312) , ร.ล.สู้ไพรินทร์(313) เป็นเรือยนต์เร็วโจมตีที่มีความเร็วสูง มีระบบอาวุธที่ทันสมัย ต่อที่ บริษัท สิงคโปร์ชิพบิลดิ้ง แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด ประเทศสิงคโปร์ ภายหลังเรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถีชั้นปราบปรปักษ์ได้ถอดอาวุธปล่อยกาเบรียลออก และได้ปรับเปลี่ยนประเภทเรือ เป็นเรือเร็วโจมตีปืน

ภารกิจของหน่วย

  • ระดมยิงฝั่งด้วย ปก. 57/70
  • ต่อสู้อากาศยานด้วย ปก. 57/70 ปก. 40/70
  • ทำหน้าที่ Picket ของกองเรือ
  • ปฏิบัติการร่วมกับ บ./ฮ.
  • ควบคุมบังคับบัญชา ระดับหมู่เรือ
  • ป้องกันระยะประชิดด้วย ปก. 40/70 มม.และ ปก. .50 นิ้ว


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 313
    • ขึ้นระวางประจำการ 5 ก.พ. 2520
    • ปลดประจำการ 1 ต.ค. 2561
    • ผู้สร้าง บริษัท สิงคโปร์ ชิบบิลดิ้ง แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 44.90 เมตร
    • ความกว้าง 7.00 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.11 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 30 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 37.5 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 232 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 263 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,170 ไมล์
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง 3 วัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM28 mod.5
    • เรดาร์เดินเรือ Decca TM 626
    • ระบบ ESM Argo Systems AR-700
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 57/70 มม. 1 กระบอก
    • ปืนกล 40/70 มม. 1 กระบอก
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 กระบอก
    • เครื่องควบคุมการยิง WM 28/5
    • แท่นยิงจรวดส่องสว่าง ขนาด 103 มม. ติดกับป้อมปืนใหญ่เรือ 6 ท่อยิง
    • แท่นยิงเป้าลวง 1 แท่น 10 กล่องยิง สำหรับเป้าลวง Dagaie
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล MTU 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 4 พวง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://chaoprayanews.com/blog/yotin/
  • http://www2.fleet.navy.mi.th/patrolsqdn/

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑