Category: Uncategorized

เรือหลวงพระทอง

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงพระทอง (HTMS Prathong) เป็นเรือประเภทยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ เดิมชื่อ USS Dodge County (LST-722) เป็นเรือในชั้น LST-542 ของ ทร.สหรัฐฯ เคยเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 และวิกฤตที่คิวบา ก่อนส่งมอบให้ไทยตามโครงการช่วยเหลือทางทหาร โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา หลังปลดระวาง ได้ถูกนำมาใช้จัดสร้างปะกรังเทียม ใต้ท้องทะเล บรเวณเกาะพระทอง จังหวัดพังงา เมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2557


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 715
    • วางกระดูกงู 15 ก.ค. 2487
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 21 ส.ค. 2487
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.สหรัฐ ฯ 13 ก.ย. 2487
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย 1 พ.ย. 2518
    • ปลดประจำการ ไม่ทราบแน่ชัด
    • ผู้สร้าง บริษัท Jeffersonville Boat & Machinery Co., Jeffersonville, Indiana ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 100 เมตร
    • ความกว้าง 15 เมตร
    • กินน้ำลึกหัว 2.49 เมตร ท้าย 4.29 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 11.6 นอต
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 9 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,625 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 4,080 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 24,000 ไมล์ ที่ 9 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 129 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 40 มม. แท่นคู่ w/Mk. 51 directors จำนวน 2 กระบอก
    • ปืน 40 มม. แท่นเดี่ยว จำนวน 4 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. จำนวน 12 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล General Motors 12-567 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา

แหล่งอ้างอิง

  • https://en.wikipedia.org
  • http://www.navsource.org
  • https://km.dmcr.go.th

เรือหลวงลันตา

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงลันตา (HTMS Lanta) เป็นเรือประเภทยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ เดิมชื่อ USS Stone County (LST-1141) เป็นเรือในชั้น LST-542 ของ ทร.สหรัฐฯ เคยเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเกาหลี และสงครามเวียดนาม ก่อนส่งมอบให้ไทยตามโครงการช่วยเหลือทางทหาร โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา หลังปลดระวาง ได้ถูกนำมาเพื่อจัดสร้างเป็นพิพิธภัณฑ์ “อนุสรณ์สถานเรือหลวงลันตา” ณ บริเวณท่าเทียบเรือคลองจิหลาด ปากแม่นํ้ากระบี่ ตำบลใสไทย อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 714
    • วางกระดูกงู 22 ม.ค. 2488
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 18 เม.ย. 2488
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.สหรัฐ ฯ 9 พ.ค. 2488
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย 12 มี.ค. 2513
    • ปลดประจำการ 30 เม.ย. 2550
    • ผู้สร้าง บริษัท Chicago Bridge & Iron Co., Seneca, IL. ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 100 เมตร
    • ความกว้าง 15 เมตร
    • กินน้ำลึกหัว 2.49 เมตร ท้าย 4.29 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 11.6 นอต
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 9 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,625 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 4,080 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 24,000 ไมล์ ที่ 9 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 117 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 40 มม. แท่นคู่ w/Mk. 51 directors จำนวน 2 กระบอก
    • ปืน 40 มม. แท่นเดี่ยว จำนวน 4 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. จำนวน 12 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล General Motors 12-567 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา

แหล่งอ้างอิง

  • https://en.wikipedia.org
  • http://www.navsource.org
  • http://oknation.nationtv.tv/blog/saiyai21

เรือหลวงท่าดินแดง(ลำที่ 2)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ทร.ไทยได้รับมอบเรือกวาดทุ่นระเบิดจำนวน 4 ลำ จาก ทร.สหรัฐ ฯ ตามข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือทางทหาร ซึ่งประกอบด้วย เรือหลวงลาดหญ้า(MSC-297) เรือหลวงท่าดินแดง(MSC-301) เรือหลวงบางแก้ว(MSC-303) และเรือหลวงดอนเจดีย์(MSC-313) ในช่วงปีระหว่าง พ.ศ. 2506 – 2508 ซึ่งเรือทั้งหมดเป็นเรือในชุด MSC-294 class ของ ทร.สหรัฐ ฯ (เรือในชุดมีหมายเลขตั้งแต่ MSC-294 ถึง MSC-325)โดย ทร.ไทยในขณะนั้น ได้กำหนดให้หมายเลขเรือหลวงท่าดินแดง เป็นหมายเลข 7

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 7
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 11 เม.ย. 2507
    • ไทยรับมอบ 17 ส.ค. 2508
    • ขึ้นระวางประจำการ 26 ส.ค. 2508
    • ปลดประจำการ พ.ศ. 30 ก.ย. 2535
    • ผู้สร้าง บริษัท Tacoma Boat Building Co., Inc., Sturgeon Bay สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 43.50 เมตร
    • ความกว้าง 8.10 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.70 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 10 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 14 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 330 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 384 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,000 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 50 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1226
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Westinghouse AN/UQS-1D
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม. จำนวน 2 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6V-71 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navsource.org
  • http://www.rtni.org
  • http://www.rtnodd.com
  • http://www.shipbucket.com
  • https://sites.google.com/site/sorawitjomkeeree45376

เรือหลวงท่าดินแดง(ลำที่ 1)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมา

เรือหลวงท่าดินแดงเป็นเรือในชุดเรือ YMS-1 ซึ่งเป็นเรือสนับสนุนการกวาดทุ่นระเบิดของ ทร.สหรัฐ ฯ โดยเรือ YMS-1 สร้างขึ้นช่วง 4 มี.ค. 2484 ได้มีการออกแบบเพิ่มเติมเป็น class ย่อยอีก 2 class ได้แก่ YMS-136 และ YMS-446 เรือหลวงท่าดินแดงเดิมชื่อ YMS-353 ของ ทร.สหรัฐ ฯ ต่อมา ทร.ไทย ได้รับเรือชุดนี้ในช่วงปี 2490 มาจำนวน 3 ลำ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • ประเภท เรือกวาดทุ่นระเบิด
    • หมายเลข 4
    • วางกระดูกงู 15 ม.ค. 2486
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 20 พ.ค. 2486
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย ปี พ.ศ. 2490
    • ปลดระวาง ปี พ.ศ. 2507
    • ผู้สร้าง อู่ Gibbs Gas Engine Co., Jacksonville, FL ประเทศ สหรัฐ ฯ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 41 เมตร
    • ความกว้าง 7.47 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.40 เมตร
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 270 ตัน
    • ความเร็วสูงสุด 15 นอต
    • กำลังพล 32 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน QF 12 pdr 18 cvt จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. 2 กระบอก
    • รางระเบิดลึก 2 ราง
  • ระบบขับเคลื่อน
    • เครื่องยนต์ดีเซล General Motors 8-268A จำนวน 2 เครื่อง กำลัง 880 แรงม้า
    • ใบจักรคู่
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • https://en.wikipedia.org
  • http://www.navsource.org
  • http://www.shipbucket.com

เรือหลวงบางแก้ว(ลำที่ 2)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ทร.ไทยได้รับมอบเรือกวาดทุ่นระเบิดจำนวน 4 ลำ จาก ทร.สหรัฐ ฯ ตามข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือทางทหาร ซึ่งประกอบด้วย เรือหลวงลาดหญ้า(MSC-297) เรือหลวงท่าดินแดง(MSC-301) เรือหลวงบางแก้ว(MSC-303) และเรือหลวงดอนเจดีย์(MSC-313) ในช่วงปีระหว่าง พ.ศ. 2506 – 2508 ซึ่งเรือทั้งหมดเป็นเรือในชุด MSC-294 class ของ ทร.สหรัฐ ฯ (เรือในชุดมีหมายเลขตั้งแต่ MSC-294 ถึง MSC-325)โดย ทร.ไทยในขณะนั้น ได้กำหนดให้หมายเลขเรือหลวงบางแก้ว เป็นหมายเลข 6 และ ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นหมายเลย 612 ตามลำดับ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 612
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 11 เม.ย. 2507
    • ไทยรับมอบ 24 มิ.ย. 2508
    • ขึ้นระวางประจำการ 9 ก.ค. 2508
    • ปลดประจำการ พ.ศ. 2556 ถึง 2560(ไม่ทราบแน่ชัด)
    • ผู้สร้าง บริษัท Dorchester Shipbuilding Corp., Dorchester, NJ สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 43.50 เมตร
    • ความกว้าง 8.10 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.70 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 10 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 14 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 330 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 384 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,000 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 50 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1226
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Westinghouse AN/UQS-1D
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม. จำนวน 2 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6V-71 จำนวน 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navsource.org
  • http://www.rtni.org
  • http://www.shipbucket.com
  • https://sites.google.com/site/sorawitjomkeeree45376

เรือหลวงบางแก้ว(ลำที่ 1)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมา

เรือหลวงบางแก้ว เป็นเรือในชุดเรือ YMS-1 ซึ่งเป็นเรือสนับสนุนการกวาดทุ่นระเบิดของ ทร.สหรัฐ ฯ โดยเรือ YMS-1 สร้างขึ้นช่วง 4 มี.ค. 2484 ได้มีการออกแบบเพิ่มเติมเป็น class ย่อยอีก 2 class ได้แก่ YMS-136 และ YMS-446 เรือหลวงบางแก้วเดิมชื่อ YMS-334 ของ ทร.สหรัฐ ฯ ถูกโจมตีจากกองทัพญี่ปุ่นเมื่อ 2 พ.ค. 2488 ด้านเหนือของเกาะบอร์เนียว ต่อมา ทร.ไทย ได้รับเรือชุดนี้ในช่วงปี 2490 มาจำนวน 3 ลำ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • ประเภท เรือกวาดทุ่นระเบิด
    • หมายเลข 3
    • วางกระดูกงู 9 มิ.ย. 2485
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 24 ต.ค. 2485
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย 26 มี.ค. 2490
    • ปลดระวาง ปี 2507
    • ผู้สร้าง อู่ Seattle Ship Building and Dry Dock Co., Seattle, WA ประเทศ สหรัฐ ฯ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 41 เมตร
    • ความกว้าง 7.47 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.40 เมตร
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 270 ตัน
    • ความเร็วสูงสุด 15 นอต
    • กำลังพล 32 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน QF 12 pdr 18 cvt จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. 2 กระบอก
    • รางระเบิดลึก 2 ราง
  • ระบบขับเคลื่อน
    • เครื่องยนต์ดีเซล General Motors 8-268A จำนวน 2 เครื่อง กำลัง 880 แรงม้า
    • ใบจักรคู่
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • https://en.wikipedia.org
  • http://www.navsource.org
  • http://www.shipbucket.com

เรือหลวงลาดหญ้า(ลำที่ 2)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ทร.ไทยได้รับมอบเรือกวาดทุ่นระเบิดจำนวน 4 ลำ จาก ทร.สหรัฐ ฯ ตามข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือทางทหาร ซึ่งประกอบด้วย เรือหลวงลาดหญ้า(MSC-297) เรือหลวงท่าดินแดง(MSC-301) เรือหลวงบางแก้ว(MSC-303) และเรือหลวงดอนเจดีย์(MSC-313) ในช่วงปีระหว่าง พ.ศ. 2506 – 2508 ซึ่งเรือทั้งหมดเป็นเรือในชุด MSC-294 class ของ ทร.สหรัฐ ฯ (เรือในชุดมีหมายเลขตั้งแต่ MSC-294 ถึง MSC-325)โดย ทร.ไทยในขณะนั้น ได้กำหนดให้หมายเลขเรือหลวงลาดหญ้า เป็นหมายเลข 5


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 5
    • ไทยรับมอบ 21 พ.ย. 2506
    • ขึ้นระวางประจำการ 14 ธ.ค. 2506
    • ปลดประจำการ 31 พ.ค. 2537
    • ผู้สร้าง Peterson Builders Inc., Sturgeon Bay สหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 43.50 เมตร
    • ความกว้าง 8.10 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.70 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 10 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 14 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 330 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 384 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,000 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 50 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Decca 1226
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Westinghouse AN/UQS-1D
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม. จำนวน 2 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6V-71 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.navsource.org
  • http://www.rtni.org
  • http://www.rtnodd.com
  • http://www.shipbucket.com
  • https://sites.google.com/site/sorawitjomkeeree45376

เรือหลวงลาดหญ้า(ลำที่ 1)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมา

เรือหลวงลาดหญ้าเป็นเรือในชุดเรือ YMS-1 ซึ่งเป็นเรือสนับสนุนการกวาดทุ่นระเบิดของ ทร.สหรัฐ ฯ โดยเรือ YMS-1 สร้างขึ้นช่วง 4 มี.ค. 2484 ได้มีการออกแบบเพิ่มเติมเป็น class ย่อยอีก 2 class ได้แก่ YMS-136 และ YMS-446 เรือหลวงลาดหญ้าเดิมชื่อ YMS-138 ของ ทร.สหรัฐ ฯ ต่อมา ทร.ไทย ได้รับเรือชุดนี้ในช่วงปี 2490 มาจำนวน 3 ลำ


ณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • ประเภท เรือกวาดทุ่นระเบิด
    • หมายเลข 2
    • วางกระดูกงู 29 ส.ค. 2485
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 17 เม.ย. 2486
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย ปี พ.ศ. 2490
    • ปลดระวาง ปี พ.ศ. 2507
    • ผู้สร้าง อู่ Astoria Marine Construction Co., Astoria, OR ประเทศ สหรัฐ ฯ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 41 เมตร
    • ความกว้าง 7.47 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.40 เมตร
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 270 ตัน
    • ความเร็วสูงสุด 15 นอต
    • กำลังพล 32 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน QF 12 pdr 18 cvt จำนวน 1 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. 2 กระบอก
    • รางระเบิดลึก 2 ราง
  • ระบบขับเคลื่อน
    • เครื่องยนต์ดีเซล General Motors 8-268A จำนวน 2 เครื่อง กำลัง 880 แรงม้า
    • ใบจักรคู่

แหล่งอ้างอิง

  • https://en.wikipedia.org
  • http://www.navsource.org
  • http://www.shipbucket.com

เรือหลวงมาตรา(ลำที่ 1)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงมาตรา เป็นเรือบรรทุกน้ำมัน ในชุด 2TM ของญี่ปุ่น เดิมชื่อ Wakakasa Maru สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เรือในชุดเดียวกันมีจำนวน 34 ลำ

การดำเนินการสร้าง

การออกแบบสร้าง มุ่งเน้นสร้างเรือให้ได้จำนวนมาก ตัวเรือมีเฟรมตามแนวขวางน้อยกว่าเรือปกติทั่วไป ทำให้บอบบางต่อการป้องกันความเสียหาย นอกจากนี้ยังไม่ได้ออกแบบ เป็นตัวเรือสองชั้นด้านใต้ ในภาพรวมการใช้งานมีความเร็วน้อยและเป็นเป้าหมายต่อการถูกโจมตีได้ง่าย


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 3
    • สร้างช่วง ปี พ.ศ. 2487-2488
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย ปี พ.ศ. 2489
    • ปลดประจำการ ปี พ.ศ. 2522
    • ผู้สร้าง บริษัท ฮิตาชิ ประเทศญี่ปุ่น
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 328 ฟุต
    • ความกว้าง 45.2 ฟุต
    • กินน้ำลึก 20 ฟุต
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 9.50 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 11.50 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 2,850 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 4,744 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการ 5,000 ไมล์ ที่ 9.5 นอต
  • ระบบสนับสนุน
    • บรรทุกน้ำมัน 3,500 ตัน
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรไอน้ำ
    • เพลาใบจักร 1 เพลา

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.combinedfleet.com
  • https://www.history.navy.mil/
  • https://stefsap.wordpress.com/2015/12/07/the-thai-navy/
  • http://global-mariner.com
  • http://pwencycl.kgbudge.com

เรือหลวงพงัน(ลำที่ 2)

⇑ พิพิธภัณฑ์ทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงพงัน (HTMS Phangan) เป็นเรือประเภทยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ เดิมชื่อ USS Stark County (LST-1134) เป็นเรือในชั้น LST-542 ของ ทร.สหรัฐฯ ซึ่งกองทัพเรือได้จัดหาตามโครงการ ช่วยเหลือทางทหารจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยขึ้นระวางประจำการ เมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2509 และปลดระวางประจำการเมื่อวันที่ 5 มิ.ย. 2551 มีอายุการใช้งานในกองทัพเรือประมาณ 40 ปี เรือหลวงพงัน ได้รับพระราชทานชื่อ โดยตั้งชื่อจากเกาะพงัน ช่วงเป็นเรือใน ทร.สหรัฐฯ เคยปฏิบัติภารกิจในสงครามโลกที่ 2 พื้นที่ตะวันออกไกล เรือหลวงพงันได้เคยร่วมปฏิบัติภารกิจในสงครามเวียดนาม โดยไปร่วมปฏิบัติการลำเลียง และเฝ้าตรวจบริเวณชายฝั่ง เพื่อป้องกันการแทรกซึมทางทะเล ปัจจุบันกองทัพเรือได้อนุมัติสนับสนุนเรือหลวงพงัน พร้อมพัสดุอุปกรณ์ประจำเรือ ให้จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2553 เพื่อนำไปจัดสร้างเป็น “พิพิธภัณฑ์เรือหลวงพงัน” ณ บริเวณท่าเทียบเรือท้องศาลา ตำบลเกาะพะงัน อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 713
    • วางกระดูกงู 18 ธ.ค. 2487
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 16 มี.ค. 2488
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.สหรัฐ ฯ 7 เม.ย. 2488
    • ขึ้นระวางประจำการ ทร.ไทย 3 ส.ค. 2515
    • ปลดประจำการ 14 ต.ค. 2551
    • ผู้สร้าง บริษัท Chicago Bridge & Iron Co., Seneca, IL. ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 100 เมตร
    • ความกว้าง 15 เมตร
    • กินน้ำลึกหัว 2.49 เมตร ท้าย 4.29 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 12 นอต
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 9 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,625 ตัน
    • ระวางขับน้ำเต็มที่ 4,080 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 24,000 ไมล์ ที่ 9 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 111 นาย
  • ระบบอาวุธ
    • ปืน 40 มม. แท่นคู่ w/Mk. 51 directors จำนวน 2 กระบอก
    • ปืน 40 มม. แท่นเดี่ยว จำนวน 4 กระบอก
    • ปืนกล 20 มม. จำนวน 12 กระบอก
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องยนต์ดีเซล General Motors 12-567 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
เตรียมทำเป็นพิพิธภัณฑ์ ที่เกาะพงัน

แหล่งอ้างอิง

  • https://en.wikipedia.org
  • http://www.navsource.org

Copyright © 2025 Seafarer

Theme by Anders NorenUp ↑