Category: Uncategorized

เรือหลวงเสม็ด(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 835
    • ขึ้นระวางประจำการ 15 ธ.ค. 2513
    • ผู้สร้าง บริษัท กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 37.4 เมตร
    • ความกว้าง 6.0 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.70 เมตร
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 115 ตัน เต็มที่ 360 ตัน
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 7 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 9 นอต
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,352 ไมล์
    • กำลังพลประจำเรือ 36 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Gray Marine 8-268A 1 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 1 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

http://www.thaiarmedforce.com

เรือหลวงเปริด

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 834
    • ขึ้นระวางประจำการ 16 ต.ค. 2512
    • ผู้สร้าง บริษัท กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 37.4 เมตร
    • ความกว้าง 6.0 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.70 เมตร
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 360 ตัน เต็มที่ 475 ตัน
    • ความเร็วสูงสุด 9 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 36 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Gray Marine 8-268A 1 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 1 เพลา
  • เรือในชุดเดียวกัน



แหล่งอ้างอิง

http://www.thaiarmedforce.com

เรือหลวงปรง

⇑ กำลังทางเรือ

คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 5 และ หมายเลข 833
    • ขึ้นระวางประจำการ 3 ก.พ. 2484
    • ผู้สร้าง บริษัท กรมอู่ทหารเรือ
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 31.6 เมตร
    • ความกว้าง 5.90 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.20 เมตร
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 150 ตัน เต็มที่ 180 ตัน
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 8 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 10 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel 1 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 1 เพลา



แหล่งอ้างอิง

http://www.thaiarmedforce.com

เรือหลวงสมุย(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงสมุย(ลำที่ 2) เดิมชื่อ YOG-60 เป็นเรือบรรทุกน้ำมัน ในชุด YOG-5 class ของ ทร.สหรัฐฯ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 832
    • ปล่อยเรือลงน้ำ พ.ศ. 2487
    • ขึ้นระวางประจำการ 20 พ.ย. 2490
    • ผู้สร้าง บริษัท Albina Engine and Machine Works ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 53.0 เมตร
    • ความกว้าง 10.0 เมตร
    • กินน้ำลึก 3.60 เมตร
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 410 ตัน เต็มที่ 1,235 ตัน
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 6 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 8 นอต
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,352 ไมล์ ที่ 6 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 63 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Union จำนวน 1 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 1 เพลา

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://www.shipbucket.com

เรือหลวงจุฬา(ลำที่ 3)

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงจุฬา (ลำที่ 3) เป็นเรือน้ำมัน ต่อที่ อู่บริษัทสิงมารีนชิพยาร์ด จำกัด ประเทศสิงคโปร์ เดิมใช้หมายเลข 2 และได้เปลี่ยนเป็นหมายเลข 831 สังกัดหมวดเรือที่ 3 กองเรือยกพลขึ้นบกและยุทธบริการ กองเรือยุทธการ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 831
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 24 ก.ย. 2523
    • ขึ้นระวางประจำการ 30 ธ.ค. 2523
    • ผู้สร้าง บริษัท Singmarine Shipyard ประเทศสิงคโปร์
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 67.00 เมตร
    • ความกว้าง 9.50 เมตร
    • กินน้ำลึก 3.30 เมตร
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 1,136 ตัน เต็มที่ 1,661 ตัน
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 12 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 14 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 42 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Koden
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 396 TC62 จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://www.rtni.org

เรือหลวงสิมิลัน

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

ในช่วงที่กองทัพเรือมีนโยบายที่จะพัฒนากองทัพให้เป็น Blue Water Navy ได้มีการจัดหาเรือขนาดใหญ่เข้าประจำการหลายลำ เช่น เรือหลวงจักรีนฤเบศร เป็นต้น ซึ่งทำให้กองทัพเรือจำเป็นจะต้องมีเรือพี่เลี้ยงเพื่อคอยส่งกำลังบำรุงเรือเหล่านั้น ดังนั้นกองทัพเรือจึงได้จัดหาเรือส่งกำลังบำรุงขนาดใหญ่เข้าประจำการ โดยดำเนินการสั่งต่อเรือหลวงสิมิลันจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 871
    • วางกระดูกงู 8 มิ.ย. 2538
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 9 พ.ย. 2538
    • ขึ้นระวางประจำการ 12 ส.ค. 2539
    • ผู้สร้าง อู่ Hudong-Zhonghua เซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ตัวเรือและส่วนประกอบของเรือสร้างด้วยเหล็ก
    • ความยาวตลอดลำ 171.45 เมตร
    • ความกว้าง 24.60 เมตร
    • กินน้ำลึก 9 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 19 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 22,000 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 10,000 ไมล์ ที่ 15 นอต
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 6
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 30 วัน
    • กำลังพลประจำเรือ 175 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine Rasca 2 ชุด
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 4 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล SEMT-Pielstick 16PC2 6V400 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Wuxi-Siemens 1FC564-6TA 4 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน Siemens 1FC5-4TA 1 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้
  • ระบบอื่นๆ
    • ระวางบรรทุก 12,000 ตัน
    • ระบบส่งกำลังเพิ่มเติมในทะเล (replenishment-at-sea) บริเวณกราบขวา 1 ระบบ
    • ระบบเติมเชื้อเพลิงในทะเล (fuelling-at-sea) บริเวณกราบซ้าย 1 ระบบ
    • ระบบเติมเชื้อเพลิงในทะเลทางท้ายเรือ Bosch Rexroth astern fueling-at-sea
    • ดาดฟ้าและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. S-70B หรือ MH-60S 1 เครื่อง
    • เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 6 ลำ

แหล่งอ้างอิง

  • http://thaiarmedforce.com
  • https://mrvop.wordpress.com

เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำ ล.164 – ล.169

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

กองเรือลำน้ำมีความต้องการจัดหาเรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำแบบใหม่ มาทดแทนเรือแบบเดิมที่มีขีดสมรรถนะ ลดลงตามอายุการใช้งาน และจะต้องปลดระวางประจำการ หรืออยู่ในแผนปลดระวาง อีกจำนวน 35 ลำ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจของหน่วยเฉพาะกิจของกองเรือลำน้ำและ นรข. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ต่อมาในปีงบประมาณ 2557 ทร. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จากแผนงาน เสริมสร้างระบบป้องกันประเทศ เพื่อดำเนินการจัดหาเรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำแบบใหม่ จำนวน 6 ลำ (เรือ ล.164 – เรือ ล.169) โดยให้ อร.ดำเนินการว่าจ้างบริษัท มาร์ซัน จำกัด โดยพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถจากเรือชุด เรือ ล.161 ได้แก่ การขยายขนาดเรือ ความเร็วที่เพิ่มขึ้น เสียงเครื่องยนต์เบาลง เพิ่มขีดความสามารถในการตรวจการณ์และสื่อสาร รวมถึงระบบการเดินเรือ ระบบอาวุธ เป็นต้น ซึ่งเรือชุดเรือ ล.164 มีจำนวน 6 ลำ มูลค่ารวมทั้งสิ้น 98,226,000 บาท โดย อร.ได้ ส่งมอบให้ กร.(กลน.) รับไว้ใช้ปฏิบัติราชการเมื่อ 11 ก.พ.59

ภารกิจของหน่วย

จัดและเตรียมพร้อมด้านกำลังรบ สำหรับปฏิบัติการตามลำน้ำในอาณาเขตและลำน้ำภายในประเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลป้องกันขัดขวาง ทำลายการแทรกซึมและการดำเนินการที่กระทบกระเทือนต่อผลประโยชน์และอธิปไตยของประเทศตามลำน้ำตามอาณาเขต อีกทั้งเป็นหน่วยฝึกและเตรียมยุทโธปกรณ์ ให้กับหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง(นรข.) ซึ่งมีหน้าที่ในการป้องกัน และปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายคุ้มครอง และช่วยเหลือประชาชน จากภัยพิบัติต่างๆ ตามหลักมนุษยธรรมในพื้นที่ รับผิดชอบรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง รวมทั้งสนับสนุนกำลังทางบกในการรักษาความมั่นคง และป้องกันประเทศ รวมทั้งจัดกำลังในการถวายความปลอดภัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ และการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 164 , 165 , 166, 167, 168, 169
    • ขึ้นระวางประจำการ 11 ก.พ.2559
    • ผู้สร้าง บริษัท มาร์ซัน จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 36 เมตร
    • ความกว้าง 7.60 เมตร
    • กินน้ำลึก 1.70 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 27 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 150 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 1,200 ไมล์
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 5
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 10 วัน
    • กำลังพลประจำเรือ 28 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Furuno 2 ชุด
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด .50 แท่นเดี่ยว 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Cummins K50-M กำลัง 1,600 แรงม้า 3 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล กำลังไฟฟ้า 112 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักรแบบมุมตายตัว

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.civil2.navy.mi.th/
  • http://www.riverine.navy.mi.th/
  • http://www.matichon.co.th/
  • https://www.facebook.com/BeMeBeMySelf/

เรือหลวงถลาง(ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

เรือหลวงถลาง กองเรือทุ่นระเบิด ต่อโดยบริษัทอู่กรุงเทพ จำกัด ออกแบบโดยบริษัท FERROSTAAL A-G MSSEN ประเทศเยอรมนี ขึ้นระวางประจำการเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2523 เรือหลวงถลาง เป็นเรือพี่เลี้ยงเรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้น และสนับสนุนการส่งกำลังบำรุงให้แก่เรือล่าทำลายทุ่นระเบิด

ขีดความสามารถ

  • การสนับสนุนการปฏิบัติการต่อต้านทุ่นระเบิด
  • ระวางบรรทุกสิ่งอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับส่งกำลังบำรุงให้หมู่เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้นได้นาน 10 วัน
  • สามารถสนับสนุนการซ่อมบำรุงให้กับเรือกวาดทุ่น ระเบิดน้ำตื้นได้
  • ใช้เป็นที่ควบคุมสั่งการปฏิบัติการของหมู่เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้น


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 621
    • วางกระดูกงู 23 มี.ค.2522
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 17 มี.ค. 2523
    • ขึ้นระวางประจำการ 25 มิ.ย. 2523
    • ผู้สร้าง บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 55.70 เมตร
    • ความกว้าง 10.00 เมตร
    • กินน้ำลึก 3.10 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 10 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 12 นอต
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 916 ตัน เต็มที่ 1,095 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 5,900 ไมล์ ที่ 10 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 67 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine และ Furuno
    • โซนาร์กวาดทางข้าง (side scan sonar) แบบเคลื่อนย้ายได้
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล 2 จำนวน เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลเสียง A Mk 4(v) และ A Mk 6(b)
    • เครนรับส่งเครื่องกวาด 2 ชุด
    • ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์
    • รองรับการติดตั้งตู้ปรับบรรยากาศความกดดันสูง (HBC) แบบเคลื่อนย้ายได้ Drager สำหรับประดาน้ำ 1 นาย

แหล่งอ้างอิง

  • http://thaiarmedforce.com
  • http://www.tnews.co.th

เรือหลวงท่าดินแดง(ลำที่ 3)

⇑ กำลังทางเรือ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2539 กองทัพเรือ ได้ลงนามในสัญญา ว่าจ้างบริษัท Intermarine S.P.A.ประเทศอิตาลี ต่อเรือต่อต้านทุ่นระเบิดขึ้น 2 ลำ ได้แก่ เรือหลวงลาดหญ้า(ลำที่ 3) และ เรือหลวงท่าดินแดง(ลำที่ 3) ซึ่งเรือนี้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น คือ มีขีดความสามารถ ในการ ล่าทำลาย และกวาดทุ่นระเบิดได้ทุกประเภท มีความแน่นอน ในการหาที่เรือสูง และมีเครื่องช่วย ในการเดินเรือที่ทันสมัย เรือลำนี้เป็นเรือในชุด Gaeta class เดิมที ทร.ไทย สั่งต่อจำนวน 8 ลำ ต่อมา ได้ยกเลิกไปจำนวน 6 ลำ


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 634
    • ขึ้นระวางประจำการ พ.ย. 2542
    • ผู้สร้าง บริษัท Intermarine SpA ประเทศอิตาลี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 52.50 เมตร
    • ความกว้าง 9.90 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.90 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 12 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 14 นอต
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 650 ตัน เต็มที่ 680 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,500 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 48 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Atlas Elektronik 9600M ARPA
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Atlas Elektronik DSQS-11M
    • ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Atlas Elektronik NBD
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล MSI-DSL/Oerlikon DS30BL KCB ขนาด 30 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik MWS-80-6 IMCS (Integrated Mine Countermeasure System)
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 8V 396 TE74K จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 183 TE52K กำลังไฟฟ้า 225 กิโลวัตต์ จำนวน 4 เครื่อง
    • มอเตอร์ไฮดรอลิกส์/ไฟฟ้าขับเพลาใบจักร กำลัง 180 แรงม้า 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Voith Turbo type 18 GH/135 แบบ Voith-Schneider propeller (VSP) หรือ cycloidal drive
    • เครื่องผลักดันหัวเรือ (bow thruster) กำลัง 180 แรงม้า 1 ชุด
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz
    • ระบบยานล่าทำลายทุ่นระเบิด GayMarine Pluto Plus 1 ระบบ
    • เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Bofors MS 106 double Oropesa
    • ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 7 นาย
    • ตู้ปรับบรรยากาศ ความกดดันสูง (HBC) Drass Galeazzi รองรับประดาน้ำได้พร้อมกัน 2 นาย
    • เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://www.rtnodd.com

เรือหลวงลาดหญ้า(ลำที่ 3)

⇑ กำลังทางเรือ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2539 กองทัพเรือ ได้ลงนามในสัญญา ว่าจ้างบริษัท Intermarine S.P.A.ประเทศอิตาลี ต่อเรือต่อต้านทุ่นระเบิดขึ้น 2 ลำ ได้แก่ เรือหลวงลาดหญ้า(ลำที่ 3) และ เรือหลวงท่าดินแดง(ลำที่ 3) ซึ่งเรือนี้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น คือ มีขีดความสามารถ ในการ ล่าทำลาย และกวาดทุ่นระเบิดได้ทุกประเภท มีความแน่นอน ในการหาที่เรือสูง และมีเครื่องช่วย ในการเดินเรือที่ทันสมัย


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 633
    • ขึ้นระวางประจำการ 18 มิ.ย. 2542
    • ผู้สร้าง บริษัท Intermarine SpA ประเทศอิตาลี
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 52.50 เมตร
    • ความกว้าง 9.90 เมตร
    • กินน้ำลึก 2.90 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 12 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 14 นอต
    • ระวางขับน้ำ ปกติ 650 ตัน เต็มที่ 680 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 2,500 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • กำลังพลประจำเรือ 48 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์เดินเรือ Atlas Elektronik 9600M ARPA
    • โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Atlas Elektronik DSQS-11M
    • ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Atlas Elektronik NBD
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่กล MSI-DSL/Oerlikon DS30BL KCB ขนาด 30 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น
    • ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik MWS-80-6 IMCS (Integrated Mine Countermeasure System)
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 8V 396 TE74K จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 183 TE52K กำลังไฟฟ้า 225 กิโลวัตต์ จำนวน 4 เครื่อง
    • มอเตอร์ไฮดรอลิกส์/ไฟฟ้าขับเพลาใบจักร กำลัง 180 แรงม้า 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Voith Turbo type 18 GH/135 แบบ Voith-Schneider propeller (VSP) หรือ cycloidal drive
    • เครื่องผลักดันหัวเรือ (bow thruster) กำลัง 180 แรงม้า 1 ชุด
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz
    • ระบบยานล่าทำลายทุ่นระเบิด GayMarine Pluto Plus 1 ระบบ
    • เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Bofors MS 106 double Oropesa
    • ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 7 นาย
    • ตู้ปรับบรรยากาศ ความกดดันสูง (HBC) Drass Galeazzi รองรับประดาน้ำได้พร้อมกัน 2 นาย
    • เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.thaiarmedforce.com
  • http://www.rtnodd.com

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑