Category: Uncategorized

เรือหลวงนเรศวร

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงนเรศวร จัดเป็นเรือประเภทเรือฟริเกต (FRIGATE) ซึ่งกองทัพเรือได้สั่งต่อจาก ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นเรือฟริเกตลำที่ 5 เป็นเรือที่กองทัพเรือออกแบบใหม่ร่วมกับบริษัท CHINA STATE SHIPBUILDING COORPERATION (CSSC) โดยใช้ระบบอาวุธ และเครื่องจักรส่วนใหญ่ของยุโรปและสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก จึงทำให้มีขีดความสามารถ และประสิทธิภาพในการรบที่ทันสมัย มีระยะปฏิบัติการไกล เรือหลวงนเรศวรต่อที่ อู่จงหัว เมืองเซียงไฮ้ วางกระดูกงูเมื่อปี พ.ศ. 2534 ทำพิธีปล่อยลงน้ำเดือน พ.ค.2536 ขึ้นระวางประจำการ เมื่อ 15 ธ.ค. 2537 เรือหลวงนเรศวร ได้รับการติดตั้งระบบอาวุธบางส่วนที่ทำโดยสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นระบบอาวุธที่ได้รับการพัฒนาให้มีความทันสมัยมากขึ้นกว่า ที่กองทัพเรือได้เคยมีไว้ใช้งาน เช่น ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์ แบบ MIRAGE ระบบโซนาร์ติดตั้งหัวเรือแบบ SJD-7 , ระบบปืน 37 มม. รุ่นใหม่ และเรดาร์ตรวจการณ์อากาศพื้นน้ำ แบบ 360 และที่พิเศษกว่านั้นคือ มีความสามารถในการป้องกันภัย จากสงครามนิวเคลียร์ ชีวะเคมี ทั้งยังได้รับการติดตั้งระบบอาวุธยุทโธปกรณ์รุ่นใหม่ของประเทศแถบยุโรป และสหรัฐอเมริกา อาทิเช่น เรดาร์ตรวจการณ์อากาศระยะไกล แบบ LW O8 , ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี HARPOON , ระบบควบคุมการยิง แบบ STIR , ปืน 5 นิ้ว มาร์ค 45 , ตอร์ปิโดปราบเรือดำน้ำ มาร์ค 46 และระบบสนับสนุนการปฏิบัติการเฮลิคอปเตอร์ รวมทั้งใช้เครื่องยนต์ MTU แบบ 1163 และเครื่องยนต์แก๊สเทอร์ไบน์ แบบ LM-2500 เป็นระบบขับเคลื่อนซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในบรรดาเรือฟริเกต ต่าง ๆ ที่กองทัพเรือมีใช้อยู่ปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเป็นเรือที่ได้รับการออกแบบตัวเรือได้สวยงามที่สุดตามหลักเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ช่วยลดการสะท้อนคลื่น นอกจากนี้สิ่งหนึ่งที่กองทัพเรือมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างมากคือ การที่สามารถเชื่อมต่อระบบอาวุธจากหลายประเทศดังกล่าวข้างต้นได้สำเร็จด้วยฝีมือคนไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีบางประเทศเคยกล่าวว่าเรือลำนี้จะไม่มีทางสำเร็จลงได้

โครงการปรับปรุงเรือฟริเกตชุดเรือหลวงนเรศวร

ในปีงบประมาณ2553 กองทัพเรือได้ขออนุมัติกระทรวงกลาโหมดำเนินโครงการปรับปรุงเรือฟริเกตชุด เรือหลวงนเรศวร ซึ่งใช้งานมากว่า 15 ปี ให้มีความทันสมัยและมีความสามารถ ที่จะทำการรบร่วมกับกองทัพอากาศได้อย่างสมบูรณ์ และได้รับอนุมัติให้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2554 เป็นต้นไป แต่เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงบประมาณ จึงต้องแบ่งการดำเนินการเป็น 3 ระยะ คือ

  • โครงการระยะที่ 1 (ปีงบประมาณ 2554 – 2557) ลงนามในสัญญาซื้อขาย เมื่อ 3 มิถุนายน 2557
  • โครงการระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ 2555 – 2556)
  • โครงการระยะที่ 3 (ปีงบประมาณ 2556 – 2558)


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 421
    • วางกระดูกงู 2534
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 2536
    • ขึ้นระวางประจำการ 15 ธ.ค. 2537
    • ผู้สร้าง อู่จงหัว เมืองเซียงไฮ้ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 120.50 เมตร
    • ความกว้าง 13.70 เมตร
    • กินน้ำลึก 6 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 32 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 2,985 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 4,000 ไมล์ ที่ 18 นอต
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 6
    • กำลังพลประจำเรือ 150 นาย
    • ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบ Raytheon Anschutz MINS 2 (ring laser gyro)
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ แบบ Saab Sea Giraffe AMD 3D
    • เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง แบบ Saab CEROS 200 with CWI 2 ตัว
    • เรดาร์ค้นหาระยะไกล Thales LW08
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales STIR
    • ศูนย์เล็งกำหนดเป้าหมาย แบบ Saab Bridge Pointers TDS
    • ระบบพิสูจน์ฝ่าย แบบ Selex SIT422 interogator และ Selex M425 transponder
    • ระบบ radar ESM แบบ ITT ES-3601 (AN/SLQ-4)
    • ระบบ communication ESM
    • โซนาร์หัวเรือ Atlas Elektronic DSQS-24
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบรวมการสื่อสาร แบบ Saab TactiCall ICS
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ Saab Link-E/G (TIDLS)
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ AviaSatcom Link-RTN
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ Link-11 (TADIL-A)
    • ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ (AIS)
    • ระบบอุตุนิยมวิทยา
  • ระบบอาวุธ
    • ระบบอำนวยการรบ แบบ Saab 9LV Mk.4
    • ปืน 5 นิ้ว/54(127 มม.) ปืนใหญ่เรือ MK-45 MOD-2
    • ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS-30MR/Mk.44 ขนาด 30 มม. แท่นเดี่ยว 2 กระบอก
    • ท่อยิง Mk.41 Vls สำหรับ 32 x [RIM-162 ESSM]] 8 ท่อยิง
    • RGM-84 Harpoon 8 ท่อยิง
    • ตอร์ปิโดแฝดสาม 324 มม. MK-32 MOD-5 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง แบบ Terma DL-12T แท่นละ 12 ท่อยิง 2 แท่น
    • แท่นยิงเป้าลวง แบบ Terma Mk.137 แท่นละ 6 ท่อยิง 4 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • 1 x เจเนอรัลอีเลคทริค LM2500+ แก็สเทอร์ไบน์ และ 2 × เครื่องยนต์ดีเซล เอ็มทียู 20V1163 TB83
    • ใบจักร แบบ CPP 2 พวง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.dockyard.navy.mi.th
  • https://www.dek-d.com
  • https://th.wikipedia.org

เรือหลวงสายบุรี

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงสายบุรี เป็นเรือรบประเภทเรือฟริเกต ติดอาวุธปล่อยนำวิถี ชุดเดียวกับ เรือหลวงเจ้าพระยา ซึ่งกองทัพเรือได้สั่งต่อจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นเรือฟริเกตลำที่สองของกองทัพเรือที่สามารถนำ เฮลิคอปเตอร์ ไปกับเรือได้ ภายในเรือติดตั้งระบบอาวุธที่ทันสมัยตลอดจนยุทโธปกรณ์และสิ่งอำนวย ความสะดวกมากมายอีกทั้งเสริมด้วยการปฏิบัติการร่วมของอากาศยาน ซึ่งสามารถนำไปกับเรือได้ อันจะเป็นการ เพิ่มพูนความสามารถในการรบทั้ง 3 มิติให้มากยิ่งขึ้น จึงนับได้ว่าเรือลำนี้เป็นกำลังรบอันสำคัญของ กองทัพเรือที่จะช่วยปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติทางทะเลและสกัดกั้นผู้บุกรุกทางทะเล


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 458
    • นามเรียกขานสากล HSMD
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 27 ส.ค.2534
    • ขึ้นระวางประจำการ 4 ส.ค.2535
    • ผู้สร้าง บริษัท HUDONG SHIPYARD สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 102.87 เมตร
    • ความกว้าง 11.36 เมตร
    • กินน้ำลึก3.38 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,840 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,961 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,550 ไมล์
    • กำลังพล 206 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ SR-60A (Type 360)
    • เรดาร์ควบคุมการยิง TR-47C (Type 347) 2 ชุด
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 352 Square Tie
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601)
    • โซนาร์หัวเรือ SJD-5
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Type 981-2
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ NG12-1 (PJ-33A) ขนาด 100 มม. แท่นคู่ 1 แท่น
    • แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น C-802A 4 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง
    • ปืนใหญ่กล NG15-2 (Type 76A) ขนาด 37 มม. แท่นคู่ 4 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 แท่น
    • จรวดปราบเรือดำน้ำ RBU-1200 จำนวน 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • CODAD เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 30 V 1163 TB 83 จำนวน 4 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 จำนวน 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบอำนวยการรบ Poseidon-3
    • ระบบพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ SR-60A) Type 60
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN
    • แท่นยิงเป้าลวง 2 แท่น แท่นละ 26 ท่อยิง
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4D
    • ลานจอด ฮ. สำหรับ Super Lynx 300 1 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.rtna.ac.th
  • http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงกระบุรี

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงกระบุรี เป็นเรือรบประเภทเรือฟริเกต ติดอาวุธปล่อยนำวิถี ชุดเดียวกับ เรือหลวงเจ้าพระยา ซึ่งกองทัพเรือได้สั่งต่อจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน นับเป็นเรือฟริเกตลำแรกของกองทัพเรือที่สามารถนำ เฮลิคอปเตอร์ ไปกับเรือได้ ภายในเรือติดตั้งระบบอาวุธที่ทันสมัยตลอดจนยุทโธปกรณ์และสิ่งอำนวย ความสะดวกมากมายอีกทั้งเสริมด้วยการปฏิบัติการร่วมของอากาศยาน ซึ่งสามารถนำไปกับเรือได้ อันจะเป็นการ เพิ่มพูนความสามารถในการรบทั้ง 3 มิติให้มากยิ่งขึ้น จึงนับได้ว่าเรือลำนี้เป็นกำลังรบอันสำคัญของ กองทัพเรือที่จะช่วยปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติทางทะเลและสกัดกั้นผู้บุกรุกทางทะเล

การตั้งชื่อเรือ

” กระบุรี” เป็นชื่อของแม่น้ำกระบุรี หรือแม่น้ำปากจั่นซึ่งเป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศมีต้นกำเนิดจากเทือกเขาตะนาวศรี กั้นพรมแดนระหว่างไทยกับพม่ามีความยาว 139 กม. ไหลลงทะเลอันดามันบริเวณอำเภอเมืองจังหวัดระนอง ซึ่งแม่น้ำสายนี้ ก่อให้ประวัติศาสตร์ทั้งในอดีตจวบจนปัจจุบันและทางกองทัพเรือจึงได้ขอพระราชทาน ชื่อแม่น้ำกระบุรีมาเป็นชื่อของ”เรือหลวงกระบุรี” ดังกล่าว


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 457
    • นามเรียกขานสากล HSMC
    • ขึ้นระวางประจำการ 16 ม.ค. 2535
    • ผู้สร้าง บริษัท HUDONG SHIPYARD สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 102.87 เมตร
    • ความกว้าง 11.36 เมตร
    • กินน้ำลึก3.38 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,840 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,961 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,550 ไมล์
    • กำลังพล 206 นาย
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ SR-60A (Type 360)
    • เรดาร์ควบคุมการยิง TR-47C (Type 347) 2 ชุด
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 352 Square Tie
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601)
    • โซนาร์หัวเรือ SJD-5
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Type 981-2
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ NG12-1 (PJ-33A) ขนาด 100 มม. แท่นคู่ 1 แท่น
    • แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น C-802A 4 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง
    • ปืนใหญ่กล NG15-2 (Type 76A) ขนาด 37 มม. แท่นคู่ 4 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 แท่น
    • จรวดปราบเรือดำน้ำ RBU-1200 จำนวน 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • CODAD เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 30 V 1163 TB 83 จำนวน 4 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 จำนวน 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบอำนวยการรบ Poseidon-3
    • ระบบพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ SR-60A) Type 60
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN
    • แท่นยิงเป้าลวง 2 แท่น แท่นละ 26 ท่อยิง
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4D
    • ลานจอด ฮ. สำหรับ Super Lynx 300 1 เครื่อง
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • hhttp://www.rtna.ac.th
  • http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงบางปะกง(ลำที่ 2)

กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงบางปะกง เป็นเรือฟริเกตในชั้นเจ้าพระยา ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือหูต่ง ประเทศจีน โดยปรับปรุงแบบจากเรือฟริเกต ประเภท 053 HT (ชั้นเจียงหู III) ของจีน มีเรือในชั้นเดียวกันอีกสามลำคือ เรือหลวงเจ้าพระยา, เรือหลวงกระบุรี , และเรือหลวงสายบุรี


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 456
    • นามเรียกขานสากล HSMB
    • วางกระดูกงู 19 ต.ค. 2532
    • ลงน้ำ 25 ก.ค. 2533
    • ขึ้นระวางประจำการ 20 ก.ค. 2534
    • ผู้สร้าง บริษัท HUDONG SHIPYARD สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 102.87 เมตร
    • ความกว้าง 11.36 เมตร
    • กินน้ำลึก 3.1 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1,676 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,924 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,500 ไมล์
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Type 354 Eye Shield
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 341 Rice Lamp
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 343 Sun Visor
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 352 Square Tie
    • เเรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno
    • โซนาร์หัวเรือ SJD-5
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Type 923-1 Jug Pair
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Type 981-2
    • ESM
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ ขนาด 100 มม.แท่นคู่ 2 แท่น
    • อาวุธปล่อยนำวิถี C-801 4 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง
    • ปืนใหญ่กล ขนาด 37 มม.แท่นคู่ 4 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 แท่น
    • จรวดปราบเรือดำน้ำ RBU-1200 จำนวน 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • CODAD เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 30 V 1163 TB 83 จำนวน 4 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 จำนวน 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบอำนวยการรบ ZKJ-3A
    • ระบบ IFF (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Type 354) Type 651
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
    • NOISE JAMMER
    • PASSIVE JAMMER
    • แท่นยิงเป้าลวง 2 แท่น แท่นละ 26 ท่อยิง
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4D
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.rtna.ac.th
  • http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงเจ้าพระยา (ลำที่ 2)

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เรือหลวงเจ้าพระยา (HTMS Chao phraya) เป็นเรือฟริเกตในชั้นเจ้าพระยา ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือหูต่ง ประเทศจีน โดยปรับปรุงแบบจากเรือฟริเกต ประเภท 053 HT (ชั้นเจียงหู III) ของจีน มีเรือในชั้นเดียวกันอีกสามลำคือ เรือหลวงบางปะกง, เรือหลวงกระบุรี , และเรือหลวงสายบุรี เรือหลวงเจ้าพระยาลำปัจจุบันนี้ เป็นเรือหลวงลำที่สองที่ใช้ชื่อ เจ้าพระยา โดยเรือลำแรกเป็นเรือสลุปในสมัย พ.ศ. 2466

การตั้งชื่อเรือ

“เจ้าพระยา” เป็นชื่อของแม่น้ำสายหลักที่สำคัญสายหนึ่งในประเทศไทย แม่น้ำเจ้าพระยามีต้นกำเนิดมาจาก แม่น้ำสายเล็ก ๆ 4 สาย ทางตอนเหนือของประเทศไทย ซึ่งไหลมาบรรจบกันทางตอนกลางของประเทศ และกลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านเมืองที่สำคัญของประเทศหลายเมืองได้แก่ อยุธยา ธนบุรี และกรุงเทพ ฯ ซึ่งเป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ชื่อของ แม่น้ำเจ้าพระยา นี้ในอดีตเคยเป็นชื่อของเรือรบของประเทศไทยมาก่อน ซึ่งปัจจุบันได้ปลดระวางประจำการไปแล้ว ต่อมากองทัพเรือได้สั่งต่อเรือฟริเกต ขึ้นใหม่จากสาธารณรัฐประชาชนจีนและ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ พระราชทานนามว่า “เรือหลวงเจ้าพระยา”


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 455
    • นามเรียกขานสากล HSMA
    • ขึ้นระวางประจำการ 8 เม.ย. 2534
    • ผู้สร้าง บริษัท HUDONG SHIPYARD สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 102.87 เมตร
    • ความกว้าง 11.36 เมตร
    • กินน้ำลึก 3.1 เมตร
    • ความเร็วมัธยัสถ์ 18 นอต
    • ความเร็วสูงสุด 30 นอต
    • ระวางขับน้ำปกติ 1.676 ตัน
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 1,924 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 3,500 ไมล์
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Type 354 Eye Shield
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 341 Rice Lamp
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 343 Sun Visor
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Type 352 Square Tie
    • เเรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno
    • โซนาร์หัวเรือ SJD-5
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Type 923-1 Jug Pair
    • ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Type 981-2
    • ESM
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนใหญ่เรือ ขนาด 100 มม.แท่นคู่ 2 แท่น
    • อาวุธปล่อยนำวิถี C-801 4 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง
    • ปืนใหญ่กล ขนาด 37 มม.แท่นคู่ 4 แท่น
    • ปืนกล .50 นิ้ว 2 แท่น
    • จรวดปราบเรือดำน้ำ RBU-1200 จำนวน 2 แท่น
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • CODAD เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 30 V 1163 TB 83 จำนวน 4 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 จำนวน 4 เครื่อง
    • เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้
  • ระบบสนับสนุนอื่นๆ
    • ระบบอำนวยการรบ ZKJ-3A
    • ระบบ IFF (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Type 354) Type 651
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
    • NOISE JAMMER
    • PASSIVE JAMMER
    • แท่นยิงเป้าลวง 2 แท่น แท่นละ 26 ท่อยิง
    • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4D
  • เรือในชุดเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง

  • hhttp://www.rtna.ac.th
  • https://th.wikipedia.org
  • http://thaidefense-news.blogspot.com

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

⇑ กำลังทางเรือ

ความเป็นมาของโครงการ

เมื่อครั้งเกิดพายุไต้ฝุ่นเกย์ในอ่าวไทย บริเวณจังหวัดชุมพรในปี พ.ศ.2532 กองทัพเรือ ซึ่งเป็นหน่วยงานราชการหลักในการค้นหา และช่วยเหลือผู้ประสบภัย ทางทะเล ได้ใช้เรือและอากาศยานในการค้นหา และช่วยเหลือผู้ประสบภัย ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ฐานขุดเจาะก๊าซธรรมชาติกลางอ่าวไทย และชาวประมง แต่มีขีดจำกัด ในการปฏิบัติการ เนื่องจากเรือขนาดใหญ่ที่สุดที่กองทัพเรือมีอยู่ขณะนั้น ไม่สามารถทนสภาพทะเลเมื่อครั้งพายุไต้ฝุ่นเกย์ได้ ทำให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยกระทำได้ ด้วยความยากลำบาก และไม่ได้ผลตามที่กองทัพเรือต้องการ ประกอบกับภารกิจของกองทัพเรือในการปกป้องอธิปไตยและรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ซึ่งในปัจจุบันเขตเศรษฐกิจจำเพาะของประเทศไทยได้ขยายออกไปถึง 200 ไมล์ทะเล การที่มีเรือขนาดใหญ่พร้อมอุปกรณ์ทันสมัยจะสามารถใช้ในการค้นหา และให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลได้อย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์ ตลอดจนการมีเฮลิคอปเตอร์ประจำการบนเรือจะช่วยขยายพื้นที่ในการลาดตระเวน และระยะเวลาการปฏิบัติการในทะเลได้เป็นเวลานานและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น กองทัพเรือจึงได้มีแนวความคิดในการสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เพื่อให้สามารถ บรรลุภารกิจตามความมุ่งหมาย และได้ทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดหาเรือและการปฏิบัติภารกิจของเรือ จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อ 17 มีนาคม 2535 อนุมัติให้กองทัพเรือ ว่าจ้างสร้างเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ ในลักษณะรัฐบาลต่อรัฐบาล จำนวน 1 ลำ จากบริษัทบาซาน ประเทศสเปนในวงเงินประมาณ 7,100 ล้านบาท และกองทัพเรือได้ลงนามในสัญญาว่าจ้างสร้างเรือเมื่อ 27 มีนาคม 2535

การตั้งชื่อเรือ

กองทัพเรือได้ขอพระราชทานชื่อเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่กองทัพเรือและเป็นขวัญกำลังใจแก่กำลังพลประจำเรือ รวมทั้งเพื่อเป็นสิ่งเตือนใจให้ระลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์แห่งราชวงศ์จักรี ที่ได้ทรงปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม ทำให้ประเทศมีความเป็น ปึกแผ่นและเจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยประเทศ โดยทรงเป็นศูนย์รวมน้ำใจคนไทยให้อยู่ร่วมกันอย่างผาสุกต่อเนื่องกันมากว่า 200 ปี ซึ่งกองทัพเรือได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อเรือหลวงลำนี้ว่า “เรือหลวงจักรีนฤเบศร” อันหมายถึง ผู้เป็นใหญ่แห่งราชวงศ์จักรี

ภารกิจของหน่วย

ยามสงบ มีภารกิจคือ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ปฏิบัติการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล ปฏิบัติการอพยพประชาชน ปฏิบัติการควบคุมและรักษาสิ่งแวดล้อมในทะเลและบริเวณชายฝั่ง คุ้มครองผลประโยชน์ของชาติในทะเล

ยามสงคราม มีภารกิจคือ ทำหน้าที่เป็นเรือธง ควบคุม บังคับบัญชากองเรือในทะเล ควบคุมการปฏิบัติการป้องกันภัยทางอากาศให้กับกองเรือ ควบคุมการปฏิบัติการป้องกันภัยผิวน้ำให้กับกองเรือ ควบคุมการปฏิบัติการปราบเรือดำน้ำให้กับกองเรือ สนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร


คุณลักษณะของเรือ

  • ทั่วไป
    • หมายเลข 911
    • วางกระดูกงู 12 ก.ค. 2537
    • ปล่อยเรือลงน้ำ 20 ม.ค. 2539
    • ขึ้นระวางประจำการ 20 มี.ค. 2540
    • ผู้สร้าง บริษัท Empresa Nacional Bazan ประเทศสเปน
  • คุณลักษณะทั่วไป
    • ความยาวตลอดลำ 182.60 เมตร
    • ความกว้าง 30.50 เมตร
    • ความสูงถึงดาดฟ้าบิน 18.50 เมตร
    • ความสูงถึงยอดเสา 42 เมตร
    • กินน้ำลึก 6.30 เมตร
    • ความเร็วสูงสุด 27 นอต
    • ระวางขับน้ำสูงสุด 11,544 ตัน
    • ระยะปฏิบัติการไกลสุด 10,000 ไมล์ ที่ 12 นอต
    • ความคงทนทะเล ได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 9
    • ปฏิบัติการต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 45 วัน
    • กำลังพลประจำเรือ 451 นาย
    • มีห้องพยาบาล ตรวจโรค ผ่าตัด เอกซ์เรย์ ทันตกรรม รับผู้ป่วยได้ 15 เตียง
    • มีห้องผู้ประสบภัย รับได้ 26 เตียง
  • คุณลักษณะด้านปฏิบัติการบิน
    • เครื่องบินขึ้นลงทางดิ่งแบบ AV-8S จำนวน 9 เครื่อง(ปลดระวางหมดแล้ว)
    • เฮลิคอปเตอร์แบบ S-70B จำนวน 6 เครื่อง
    • ดาดฟ้าบิน รับ-ส่งเฮลิคอปเตอร์ได้ทุกประเภท ยกเว้น Chinook รับส่งได้ที่ SPOT ที่ 4 เท่านั้น
    • สามารถ รับ-ส่งเฮลิคอปเตอร์ได้ 5 เครื่อง พร้อมกัน
  • ระบบตรวจการณ์
    • เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Saab Sea Giraffe AMB 3D
    • เรดาร์ควบคุมการยิง Thales STIR 1.8 2 ชุด
    • เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine VisionMaster FT 2 ชุด
    • ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601)
    • ระบบถามสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII Selex Communications SIT422 CI
    • ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII Selex Communications M425 NGIFF
    • ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับอากาศยาน Saab ADS-B
    • ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ Saab AIS
    • ระบบช่วยเดินอากาศทางยุทธวิธี (TACAN) NavCom Defense Electronics AN/URN-25
  • ระบบสื่อสาร
    • ระบบสื่อสารแบบรวมการ Saab TactiCall ICS
    • ระบบวิทยุสื่อสาร Rohde & Schwarz M3SR/M3AR w/ SECOS
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT
    • ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link E และ Link G (TIDLS)
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link 11 (TADIL-B)
    • ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom/Rohde & Schwarz Link RTN
  • ระบบอาวุธ
    • ปืนกล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 4 แท่น
    • ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
    • แท่นยิง Sadral สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ MBDA Mistral 3 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง
  • ระบบขับเคลื่อนและเครื่องจักรช่วย
    • เครื่องจักรใหญ่แบบ CODOG
    • เครื่องยนต์แก๊สเทอร์ไบน์ GM LM 2500 จำนวน 2 เครื่อง
    • เครื่องยนต์ดีเซล MTU 16 V 1163 TB จำนวน 2 เครื่อง
    • เพลาใบจักร จำนวน 2 เพลา หมุนออกนอกตัวเรือ
    • ใบจักรแบบปรับพิทช์ได้ จำนวน 4 ใบ/พวง
    • เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า จำนวน 4 เครื่อง
    • เครื่องกำเนิดไฟฟ้า จำนวน 4 เครื่อง
    • เครื่องปรับแต่งอาการโคลงของเรือ จำนวน 2 ชุดเครื่อง
    • เครื่องผลิตน้ำจืดแบบ REVERSE OSMOSIS จำนวน 4 เครื่อง

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.fleet.navy.mi.th/cvh911/index2.html
  • http://www.thaiarmedforce.com

กำลังทางเรือ

เรือรบ

  1. ประเภทเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์
  2. ประเภทเรือฟริเกต
  3. ประเภทเรือคอร์เวต
  4. ประเภทเรือเร็วโจมตี
  5. ประเภทเรือทุ่นระเบิด
  6. ประเภทเรือยกพลขึ้นบก
  7. ประเภทเรือตรวจการณ์
  8. เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง
  9. ประเภทเรือปฏิบัติการลำน้ำ

เรือช่วยรบ

  1. เรือส่งกำลังบำรุง
  2. ประเภทเรือน้ำมัน
  3. เรือลากจูง
  4. เรือสำรวจ
  5. เรือใช้กิจการพิเศษอื่นๆ

ติดตามความก้าวหน้า

  • *

ทำเนียบนักเรียนนายเรือ พ.ศ. 2559

⇑ บุคคลสำคัญ⇑ ทำเนียบนักเรียนนายเรือ


รายชื่อนักเรียนนายเรือ พ.ศ. 2559
(นักเรียนนายเรือรุ่น 114, เตรียมทหารรุ่น 57)

ลำดับที่ชื่อนามสกุลพรรค
1นนร.ธนภัทรสุวรรณโชติ
2นนร.วัชรวีร์สุขสุวรรณ์
3นนร.ศมิตินกองแก้ว
4นนร.ภูมัยรักษ์สุวรรณ
5นนร.ไตรรัตน์แก้วรงค์
6นนร.จักรภพทุ่งมน
7นนร.พีรวิชฌ์คำสอนพันธ์
8นนร.ฉัตรชัยตันหลงตร.
9นนร.ธนากรแก่นอินทร์ตร.
10นนร.คณุตม์สมานรักษ์
11นนร.พศวัฒฉันทนะสุขศิลป์
12นนร.รณรตชูมณี
13นนร.เจนณรงค์ชนะโยธา
14นนร.พีรวัสแก้วอินทร์
15นนร.อภิสิทธิ์สิงห์สุวรรณ
16นนร.ชนกันต์บุญวันท์
17นนร.ชโลธรเขจรเนตร
18นนร.กีรติอู่อุดมยิ่ง
19นนร.พงษ์สิทธิทองย้อย
20นนร.ธนกิจศรีเชียงสา
21นนร.เจษฎากรอินทพงศ์
22นนร.บุลวัชรอภิธนาภิรักษ์
23นนร.ชายชาญสมชอบ
24นนร.ณภัทรอุ่นแก้ว
25นนร.รวมพลพันธุ์สวัสดิ์
26นนร.ณัฐสิทธิ์ปริสุทธิ์สุนทร
27นนร.ธนาดลกลิ่นเกษม
28นนร.ชาติย์นาวาวิจิต
29นนร.ปวริศชัยอำนาจ
30นนร.กันตพงศ์ทองสังข์
31นนร.ชลวิชิตยะราไสย
32นนร.ณัทดรัณคุรุวิชญา
33นนร.เศรษฐพงศ์ปรีการ
34นนร.กรกชพรมใจมั่น
35นนร.จิรพัสเกิดชัง
36นนร.ชวนธรกิ่งก้าน
37นนร.ชวรินทร์แหล่งสท้านตร.
38นนร.ณัฐนนท์ควรประดิษฐ์
39นนร.วรชาติพลราชม
40นนร.วิษณุวัฒน์เตบุญมี
41นนร.ชวัลลภคำเบ้า
42นนร.พันธกานต์ปรีชาวงษ์
43นนร.ภัทรศักดิ์อัศวพานิชย์กุล
44นนร.ภาสวิชญ์ยรรยงเลิศตร.
45นนร.รัชฏะหนันดูน
46นนร.หัตถกรนัยชิตตร.
47นนร.ณัฐวัตรสมสงวน
48นนร.ตันติกรชูใจ
49นนร.อภิมุขกลิ่นลำดวน
50นนร.พงศธรผาสอน
51นนร.จิรชนนท์คล้ายชัง
52นนร.จตุรพิธภู่ระโหง
53นนร.กฤตพรตพรหมสิน
54นนร.ธิติพัฒน์อรุณศรี
55นนร.พีรวัสเหมนแก้วตร.
56นนร.กวีวัฒน์พูลศรี
57นนร.ชุณเกียรติรักสนิท
58นนร.ชวนกรกิ่งก้าน
59นนร.จิระภัทรอุดคำเที่ยงตร.
60นนร.ตติยอาจศรีตร.
61นนร.รักชนน์คัมภิรานนท์
62นนร.ชยินศรีสุข
63นนร.ชัยวัฒน์นิ่มมณีรัตน์
64นนร.อานนท์บุญเลิศ
65นนร.กมลช่วงโชติ
66นนร.คุณานนต์อ่ำทอง
67นนร.นนท์ธชาโกศัยกานนท์
68นนร.ชิษณุพงศ์วงษ์แสงจันทร์
69นนร.วัชรพงษ์คงประชาทรัพย์
70นนร.นัฐกานต์เย็นกาย
71นนร.บรรณวิชญ์มากันตร.
72นนร.คุณานนต์นาคสิทธิ์ตร.
73นนร.นภัสท่าทราย
74นนร.ศุภณัฐวัฒนธรรม
75นนร.ณัชศรันณ์วิชัยบุญ
76นนร.ปาณัสม์สอนซี
77นนร.กฤตินเกิดนาค

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.rtna.ac.th

ทำเนียบนักเรียนนายเรือ พ.ศ. 2558

⇑ บุคคลสำคัญ⇑ ทำเนียบนักเรียนนายเรือ


รายชื่อนักเรียนนายเรือ พ.ศ. 2558
(นักเรียนนายเรือรุ่น 113, เตรียมทหารรุ่น 56)

ลำดับที่ชื่อนามสกุลพรรค
1นนร.ณัฐพงศ์เลิศประสิทธิ์สเปน
2นนร.รชฤทธิ์จำปาหวายเยอรมนี
3นนร.ณัชพลธรรมสุวรรณ์ญี่ปุ่น
4นนร.ธีระติพงษ์พันนิลออสเตรเลีย
5นนร.เกษมวรวัฒนากุลกล.
6นนร.มนตรีทรัพย์อดิเรกตร.
7นนร.สุทธิกานต์วันที
8นนร.ทยากรจันทร์งาม
9นนร.ปิยวัฒน์ไตรรัตนากร
10นนร.พอชนกพลับตร.
11นนร.ยศวริศแกล้วกล้ากล.
12นนร.พีรดนย์โรจน์พานิช
13นนร.ยศภัทรก่อเกียรติโกมล
14นนร.ณพลโกศลสุรเสนีย์
15นนร.รัฐภูมิจันทะสารตร.
16นนร.กิตติเดชแก้วผลึก
17นนร.นันทิพัฒน์นิราศตร.
18นนร.นรภัทรทิพย์ศรีราช
19นนร.ชัชพิมุขเพ็ชรเจริญ
20นนร.ตุลย์มณีเมืองตร.
21นนร.พิสุทธิ์พุทธิสารชัย
22นนร.กษิตินาถบุญพันธ์ตร.
23นนร.ภูมิทัศน์ตระกูลรุ่ง
24นนร.ติณณภพแหลมหลวงพธ.
25นนร.ฉัตรแก้วทองนิล
26นนร.วรพลลิลาพธ.
27นนร.กันตินันท์จิตต์สงวนกล.
28นนร.วสุพลครุอำโพธิ์
29นนร.ณัฐพลธิถา
30นนร.เก้ากาญจน์จินดาวงศ์
31นนร.รัฐนันท์ดารายิ่ง
32นนร.ภาคภูมิกรอบเพ็ชร์
33นนร.ทวีศักดิ์รามนัฏกล.
34นนร.ธรรศเพียรธรรม
35นนร.วรวุฒิสุพรหมมากล.
36นนร.ครุศาสตร์วงศ์ชัยตร.
37นนร.ภัทรพลพิริยะพงษ์พันธ์กล.
38นนร.ฑีรายุจรรย์โกมลกล.
39นนร.คณาวุฒิทองดี
40นนร.วิจิตรศิริชัยสุทธิกร
41นนร.ภานุพงศ์วงศ์ภัคไพบูลย์
42นนร.ศิรินทร์อิสริยวงศ์ปรีดี
43นนร.ธีระพงษ์อ่ำศรี
44นนร.ปิยบุตรสิงหน
45นนร.ธานาวินท์ธนินท์ยาศักดิ์กล.
46นนร.ณัชพลสุขนิยม
47นนร.ภูวิศสิงหสุต
48นนร.สิรวิชญ์จวงจรัสโรจน์
49นนร.โทรสารทำเนาว์
50นนร.กิตติพงษ์ขวัญพรายพธ.
51นนร.ณัฐวิชช์พานครอบแก้ว
52นนร.ชินวัตรพูลสุภาพ
53นนร.คชินทร์บุญทรัพย์
54นนร.กานต์มิ่งขวัญ
55นนร.วีร์ส่งเจริญ
56นนร.วรัญญูสุดจิตรตร.
57นนร.จิรายุทธสมสงวน
58นนร.ปฏิภาณชัยภักดีกล.
59นนร.เศรษฐศักดิ์จันทรา
60นนร.ธราธรดวงประทุม
61นนร.ศิรวิทย์นาคมุสิกตร.
62นนร.จักรภพปราบไกรสีห์
63นนร.อภินันท์มีความดี
64นนร.สหรัฐวิชัยดิษฐตร.
65นนร.ศิวัชสวยล้ำ
66นนร.ธนวัฒน์เสนาวงษ์
67นนร.พรหมพัฒน์อยู่ศรีสกุลกล.
68นนร.วีรากรผลมาตย์กล.
69นนร.ธนรุจเปี่ยมเมตตา
70นนร.ตรีชนนปัญญชุณห์
71นนร.ปรีชามีสวน
72นนร.นันทณัฐปิณะวันนาตร.
73นนร.ศุภกรสืบสุทธา
74นนร.วชรชมะโชติ
75นนร.ณัฐพลเพ็ชรยืนยง
76นนร.ทักษิณรักบำรุงพงศ์
77นนร.ชัชชาญมีชัย
78นนร.ชนชิตประจิมทิศ
79นนร.สุรนาทนิราราช
80นนร.ภานุวัฒน์ห้องแซงตร.
81นนร.มนต์นัทธ์พงษ์ทองเจริญ
82นนร.กฤษดาบุญอิ่ม
83นนร.ธัชพลศรีสุพรรณบุตร

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.rtna.ac.th

ทำเนียบนักเรียนนายเรือ พ.ศ. 2557

⇑ บุคคลสำคัญ⇑ ทำเนียบนักเรียนนายเรือ


รายชื่อนักเรียนนายเรือ พ.ศ. 2557
(นักเรียนนายเรือรุ่น 112, เตรียมทหารรุ่น 55)

ลำดับที่ชื่อนามสกุลพรรค
1นนร.ศรนรินทร์ชัยยอดพรมอเมริกา
2นนร.นาวิกโรงสะอาดนว.
3นนร.คมสันอภิชาติบวรวงศ์กล.
4นนร.ธนวัฒน์ท้าวคำหลงนว.
5นนร.ณัฐชยุตม์ชัยทนุนานนท์นว.
6นนร.วิศเวศคุ้มราษีนว.
7นนร.ณัฐภัทรทนันขัติเยอรมนี
8นนร.ณัฐวุฒิบัวลอยนย.
9นนร.รัฐศาสตร์จำปาทองอศ.
10นนร.อรรถวิทมูลเมืองนว.
11นนร.จิรสกุลบุญคำนว.
12นนร.สมัชญ์ไทยานนท์กล.
13นนร.อภิเศรษฐ์โกสินทร์กล.
14นนร.พงศธรสระแก้วตร.
15นนร.ราชรัตน์มีสถิตย์นว.
16นนร.กัณภัคบุณยะประภัศรญี่ปุ่น
17นนร.ชัชชัยตะสูงเนินนว.
18นนร.สหชาติภูมิภัทรภากรนว.
19นนร.จักรกฤษณ์ทองสองชั้นนย.
20นนร.ธนภัทรฤทธิกูลกล.
21นนร.ธนวัฒน์รุจะศิริออสเตรเลีย
22นนร.ชลเมต (อริย์ธัช)แทนฟัก (ธีรอารยะรัตน์)พธ.
23นนร.จิรพงศ์อินทะนิงนว.
24นนร.นนทพัทธ์กาวชูตร.
25นนร.จักรินมาลัยโรจน์ศิรินว.
26นนร.รุ่งโรจน์สิงห์คำตร.
27นนร.นนทพันธ์แก้วเหมือนนย.
28นนร.ธีระศักดิ์รัฒยานว.
29นนร.พิชญ์เฟื่องจันทร์นว.
30นนร.ไกรวีภาณุพิจารย์กล.
31นนร.วรยศทรงไทยนว.
32นนร.ณัฐชัยเหลืองอร่ามอศ.
33นนร.ธราทรพัวสุวรรณนย.
34นนร.พิสิษฐ์สว่างใจธรรมสเปน
35นนร.สัณห์ศิริปริตโตทกนว.
36นนร.นภเดชอัตตเจริญวงศ์กล.
37นนร.จักราวุธโขขุณีนว.
38นนร.ธัชพงศ์สุตันตั้งใจนย.
39นนร.ปวิชเด่นกิจกุล
40นนร.พงศธรพุ่มวงศ์สำเนียงนว.
41นนร.พีรณัฐชนะบวรบุตรพธ.
42นนร.บัณฑิตแสนสุขนว.
43นนร.ภาณุวัฒน์แจ่มมีตร.
44นนร.กรธวัชสุริยะธง
45นนร.อินทัชแสงศุภกรกล.
46นนร.สุพิชัยอมริตนย.
47นนร.สมัคชัยอัครวงศ์วัฒนานย.
48นนร.ปภพธ์ชวนะ
49นนร.ณัฐพลบุญธิมา
50นนร.นัชธนวิชญ์ภาคภูมิกล.
51นนร.รัฐพงศ์อรุณคิรีโรจน์นว.
52นนร.ณ พลวัฒนราชนว.
53นนร.ปวเรศปทุมลักษณ์นว.
54นนร.พีรทรพิทักษ์เกียรติยศนว.
55นนร.ธนเดชไชยศรีนว.
56นนร.อภินัทธ์สังวรนิตย์นว.
57นนร.ศิวกรโป้แดงนว.
58นนร.ปฏิภาณบุญรักษ์นว.
59นนร.จีรศักดิ์อุดมสินานนท์ตร.
60นนร.ตันติกรมะลิซ้อนกล.
61นนร.ภูภัฏโรจน์ตระกูลนว.
62นนร.จาตุรงค์กันธะเรียนตร.
63นนร.ณัฐภัทรพัวเจริญเกียรติตร.
64นนร.กิตติธัชจันทร์สิงขรนว.
65นนร.สรสิชเที่ยงตรงดี
66นนร.คำภีร์ปิ่นเขียนนย.
67นนร.พาณุเศรฐเดระดากล.
68นนร.จักรกฤษณ์สืบสกุล
69นนร.กนต์ธรขาวจุ้ย
70นนร.วรพลศิลรักษา
71นนร.วีรากรเอกภูมิมาศ
72นนร.ยศวัฒน์บัวกอง

แหล่งอ้างอิง

  • http://www.rtna.ac.th

Copyright © 2025 Seafarer Library

Theme by Anders NorenUp ↑